กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561
รหัสโครงการ 61-L1497-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้
วันที่อนุมัติ 22 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 14 กันยายน 2561
งบประมาณ 16,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวตรีชฎาหอมจันทร์ ตำแหน่งแพทย์แผนไทย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.571,99.669place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 มิ.ย. 2561 29 มิ.ย. 2561 16,000.00
รวมงบประมาณ 16,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังใช้ยาตลอด สามารถเกิดอาการแทรกซ้อนต่างๆ มากมาย แผลที่เท้าเป้นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในผู้ป่วยเบาหวาน ในรายที่คุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ทำให้บริเวณเท้าชาไม่รู้สึกเจ็บปวด ไม่รับรู้แรงกดดันหรืออาจสูญเสียการรับรู้ร้อนหวานได้ สิ่งเหล่านี้ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือแม้แต่เมื่อมีแผลเกิดขึ้นที่เท้าจะไม่รู้สึกเจ็บ ทำให้แผลลุกลามอาจถึงขึ้นตัดขาดได้ พบว่าผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่การดูแลเท้าให้ถูกต้องเหมาะสมและการดูแลไม่ต่อเนื่องส่งผลให้ผุ้ป่วยมีปัญหาเรื่องเท้าและส่วนใหญ่มักมีอาการเท้าชา จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุที่เท้าเกิดขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ เห็นความสำคัญในการดูและสุขภาพเท้าผุ้ป่วยเบาหวานด้วยวิธีการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยซึ่งจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดแผล และผสมผสานพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ใช้สมุนไพรในการดูแลเท้าและยังให้ประชาชรู้จักการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมารักษา ป้องกันไม่ให้เกิดโรคในระยะเบื้องต้นได้อย่างถุกต้องและประชาชนจำนวนมากจะได้ประโยชน์จากโครงการนี้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง

ร้อยละ 80 ขอผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลเท้า

0.00
2 2.เพื่อช่วยลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมไม่เกิดแผลที่เท้า

0.00
3 3.เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวาน

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ่้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวานไม่เกินร้อยละ 0.05

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 1,248.00 3 16,000.00
1 ก.ค. 61 - 28 ก.ย. 61 1.จัดกิจกรรมและสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ 0 700.00 400.00
1 ก.ค. 61 - 28 ก.ย. 61 จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน 0 500.00 500.00
2 ก.ค. 61 - 28 ก.ย. 61 จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้การดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทยแก่กลุ่มเป้าหมาย 0 48.00 15,100.00

ขั้นเตรียมการ 1.จัดเตรียมข้อมูล 2.ประสานงานผู้เกี่ยวข้องเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรและบุคลากรและงบประมาณเพื่อ     - ชี้แจงรายละเอียดโครงการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.     - ประชาสัมพันธ์โครงการแก่ประชาชน และกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเข้าใจและเห็นความสำคัญในการเข้าร่วมโครงการ     - กำหนดแผนดำเนินงานร่วมกับงาน NCD และจัดเตรียมอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม ขั้นดำเนินการ 1.จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ 2.จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน   - สัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้น   - ตรวจเท้าคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 3.จัดกิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน 4.ส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การแนะนำการใช้สมุนไพรสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 5.จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้การดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทยแก่กลุ่มเป้าหมาย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง 2.สามารถลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน 3.สามารถลดความรุนแรงของการเกิดภวาระแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวานได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มิ.ย. 2561 14:27 น.