กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 18 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2561
งบประมาณ 11,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์
พี่เลี้ยงโครงการ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.842,100.342place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ก.ค. 2561 31 ต.ค. 2561 11,300.00
รวมงบประมาณ 11,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 46 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ ที่ควรได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรจะได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการเพื่อเด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ซึ่งจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี อาหารกลางวันจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องได้รับประทานทุกคน และได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบทั้ง ๕ หมู่ เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มาพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)จึงได้ดำเนินโครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งได้เชิญผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเข้าร่วมโครงการ เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ ๑. ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการออกกำลังกาย ข้อที่ ๓. เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้ ข้อที่ ๔. เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน


๑. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้ ๒. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน ๓. ร้อยละ ๓๐ เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้
๔. ร้อยละ ๓๐ ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 11,300.00 2 11,300.00
24 ก.ย. 61 เชิญวิทยากรบรรยายเรื่องการน้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน และสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ (อีเอ็ม) 0 2,300.00 2,300.00
27 มี.ค. 62 จัดซื้ออุปกรณ์ 0 9,000.00 9,000.00

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ ๒. คัดกรองเด็กที่ไม่ชอบกินผัก
๓. เชิญวิทยากรบรรยายเรื่องการน้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน และสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ (อีเอ็ม) ๔. เตรียมพื้นที่ปลูก และเพาะเมล็ดพันธุ์
๕. ดำเนินการปลูก ๖. บำรุง รดน้ำใส่ปุ๋ยพรวนดิน ๗. เก็บผลผลิตให้เด็กปฐมวัยนำกลับไปรับประทานที่บ้าน ๘. ครูรณรงค์ให้เด็กปฐมวัยรับประทานผัก ๙. เตรียมพื้นที่ปลูกต่อในแปลงที่เก็บผลผลิตแล้ว

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กปฐมวัยเรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ๒. เด็กสามารถบอกคุณค่าทางโภชนาการได้ ๓. ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2561 14:29 น.