กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปากละงูโมเดล ลดเสี่ยง ลดโรค
รหัสโครงการ 61-L5313-2-32
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมรักสุขภาพบ้านปากละงู
วันที่อนุมัติ 28 พฤษภาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 22,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนรินทร์ สมันตกาญจน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.842,99.826place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 30 ส.ค. 2561 30 ส.ค. 2561 30 ส.ค. 2561 30 ส.ค. 2561 12,250.00
2 25 ต.ค. 2561 25 ต.ค. 2561 9,750.00
รวมงบประมาณ 22,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พฤติกรรมและวิถีชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาพของทุกคนพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆของแต่ละบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเจ็บป่่วยของบุคคลนั้นๆจากสถิติข้อมูลสุขภาพของคนปากละงู พบปัญหาสุขภาพมีโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลื่อดสมอง อ้วนลงพุง เป็นสาเหตุของการเจ็บป่่วยอันดับต้นๆในปี2559พบผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน41คนและจากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ35ปีขึ้นไป จำนวน1370คนพบกลุ่มเสี่ยง360คน จากสถานการณ์ดังกล่าวในปี2560ชุมชนปากละงูได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้นและได้รับการคัดเลือกจากอำเภอละงูส่งประกวดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับจังหวัดจากผลการประกวดปากละงูได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1ของจังหวัดสตูล ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของชุมชน และในปี2561ทางชุมชนเล็งเห็นถึงความสำคัญและเพื่อให้การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกิดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้คื่นข้อมูลแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพด้วยวิถีพอเพียง เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยเป็นโรคในอนาคตต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง ภายในครอบครัว และชุมชน

กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจสามารถปรับเปลี่ยนพฤติการรมได้ถูกต้อง ร้อยละ  100

0.00
2 ลดอัตราการเกิดโรครายใหม่ในชุมชน

ชุมชนลดผู้ป่วยรายใหม่ได้

0.00
3 เพื่อสร้างกระแสการดูแลตนเองและมีกลุ่มปรับเปลี่ยนต้นแบบ ด้วยวิถีพอเพียง แบบยั่งยืน

ชุมชนมีกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคคลในครอบครัวได้ อย่างน้อย  ร้อยละ  70

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,000.00 2 21,500.00
5 ก.ค. 61 อบรม 0 8,000.00 -
5 ก.ค. 61 อบรม 0 12,250.00 12,250.00
5 ก.ค. 61 จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มเสี่ยง 0 9,750.00 9,250.00

1 ประชุมคณะกรรมการชี้แจง สรุปกิจกรรมและจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2 จัดทำและเสนอโครงการเพื่อของบประมาณ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค 4 ติดตามประเมืนผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5 ประเมินผลโครงการเพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2 ลดอัตราการเกิดโรครายใหม่ 3 ประชาชนและชุมชนมีการตื่นตัว มีความตระหนักในการดูแลตนเองเพิ่มมากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2561 10:07 น.