กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการ "ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" ”

ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ

ชื่อโครงการ โครงการ "ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน"

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1528-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน"



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานโดยอสม. (3) เพื่อให้ประชาชนทราบค่าระดับความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือดของตนเอง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีค่าระดับความดันโลหิตและค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ (5) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและเข้าสู่กระบวนการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ในแต่ละปีที่ผ่านมามีกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น และพบว่ากลุ่มเสี่ยงในวัยต่างๆเพิ่มมากขึ้น
จากการสำรวจข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพพบว่า มีพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายไม่เหมาะสม รวมทั้งขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ ไม่ได้ตระหนักและไม่ให้ความสนใจในการคัดกรองสุขภาพ รวมถึงผลของการคัดกรอง จากการสำรวจประชากรอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองสุขภาพประจำปีที่ผ่านมาโดย อสม.ในพื้นที่ของตัวเองและประชากรที่มารับบริการตรวจรักษาโรคจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน พบว่า ร้อยละ 80 ไม่ทราบค่าผิดปกติของระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดที่ตรวจพบไม่สามารถบอกค่าและประเมินระดับน้ำตาลและค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลที่ผิดปกติได้ จึงขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูนได้นำปัญหาดังกล่าวมาวิเคราะห์ จึงหาแนวทางเพื่อให้ประชาชนได้มีความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพในลักษณะบูรณาการควบคู่กับกระบวนการการคัดกรอง โดยการจัดทำนวัตกรรมสื่อที่ใช้ในการเตือนใจหรือเตือนสติผู้ป่วยเป็นรายกรณี โดยใช้นวัตกรรม “ตั๋วสุขภาพ” ขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วยทราบถึงระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลของตนเอง โดยภาวะสุขภาพในปัจจุบันแนวโน้มของการป่วยเป็น โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น ซึ่งสภาวะสุขภาพมีความแตกต่างกันในแต่ละราย รวมทั้งเป็นสื่อในการให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย การปฏิบัติตัวให้ถูกต้องตามปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
  2. 2ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานโดยอสม.
  3. 3 เพื่อให้ประชาชนทราบค่าระดับความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือดของตนเอง
  4. 4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีค่าระดับความดันโลหิตและค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  5. 5 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและเข้าสู่กระบวนการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 771
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนทราบค่าและแปลผลระดับความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือดของตนเองได้ 2. ประชาชนทราบค่าผิดปกติของระดับความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือด 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีค่าระดับความดัน 4. กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและเข้าสู่กระบวนการรักษา 5.อสม.มีศักยภาพในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานเพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ทดสอบความรู้ก่อนหลังอบรมให้ความรู้ อสม.เรื่องเทคนิคการวัดความดันโลหิตที่บ้านและตรวจค่าระดับน้ำตาลในเลือด 2.กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนโดย อสม. 3.กิจกรรม"ตั๋วสุขภาพ" กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองมีการจัดกลุ่มตามความเสี่ยง

วันที่ 20 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่1กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการอสม. 1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบข้อเสนอวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. จัดทำแผนกิจกรรมและกำหนดวันปฏิบัติงาน 3. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณ 4.จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ ในการดำเนินงาน 5.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 6.ดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ 7.ทดสอบความรู้ความเข้าใจของอสม.เรื่องเทคนิคการวัดความดันโลหิตที่บ้านและการตรวจค่าระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้ว ทั้งก่อนและหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการ
8. อบรมให้ความรู้ อสม. เรื่องเทคนิคการวัดความดันโลหิตที่บ้านและการตรวจค่าระดับน้ำตาลในเลือด จากปลายนิ้ว(DTX) โดยวิทยากรจากคลินิกโรคไม่ติดต่อโรงพยาบาลห้วยยอด) ฟื้นฟูทักษะการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง แก่ทีมสุขภาพตำบลเขาปูน -ทักษะการตรวจวัดความดันโลหิต -ทักษะการเจาะเลือดตรวจค่าน้ำตาลในเลือด -ทักษะการอ่านผลและรายงานผล 9. ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่2 กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนโดยอสม. 1.จัดทำแผนกำหนดวันปฏิบัติงานในพื้นที่ 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรม เช่น เทศบาล ผู้นำท้องถิ่น อสม.และภาคีเครือข่าย
3.จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ ต่างๆให้เพียงพอในการดำเนินงาน 4.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมโครงการ 5.ตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมาย 6.ให้การส่งต่อข้อมูลเพื่อแยกกลุ่มความเสี่ยง และพบแพทย์ ในรายที่มีผลคัดกรองพบเสี่ยงสูง

กิจกรรมที่3 การแจ้งผลการตรวจสุขภาพเป็นรายบุคคลโดยใช้กิจกรรม”ตั๋วสุขภาพ” 1.กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองมีการจัดกลุ่มตามความเสี่ยง สีแดง หมายถึง สงสัยป่วย (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า160/100) สีเหลือง หมายถึง เสี่ยง (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า140/90) สีเขียว หมายถึง ปกติ (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า140/90)
2.ได้รับคำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและได้รับการติดตามอย่างน้อย 2 ครั้งในกลุ่มสีเหลืองและสีแดง) 3.กลุ่มสงสัยป่วย (สีแดง) หลังจากการติดตามแล้ว ค่าระดับความดันโลหิตไม่ลดลง ส่งพบแพทย์ทุกราย 4.ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงานตามกิจกรรม 5.รายงานผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานงานและคืนข้อมูลสู่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการ"ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" มีขั้นตอนการดำเนินงานโดยใช้นวัตกรรม "ตั๋วสุขภาพ" ในการคัดกรองมีการจัดกลุ่มตามความเสี่ยง
สีแดง หมายถึง สงสัยป่วย (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 160/100 ระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่า 125 ) สีเหลือง หมายถึง เสี่ยง (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 ระดับน้ำตาลในเลือด 100-125) สีเขียว หมายถึง ปกติ (ระดับค่าความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 ระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 100) ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว ผลการดำเนินการโครงการสรุปได้ดังนี้ จากผลการดำเนินงานของ โครงการ"ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" ปีงบประมาณ 2561 บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการดังนี่้ จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานด้วยการเจาะเลือดที่ปลายนิ้ว จำนวน 1,405 คน คิดเป็นร้อยละ 93.57 พบเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 7.33 และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 1.21 ได้รับการส่งต่อพบแพทย์และวินิจฉัยโรค 19 รายคิดเป็นร้อยละ 100 เป็นรายใหม่ 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.21 ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต จำนวน 1,599 คน คิดเป็น 98.67 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด 416 คนคิดเป็นร้อยละ 34.93 และพบสงสัยเป็นป่วย 161 คน คิดเป็นร้อยละ 13.52 ได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโรค พบเป็นรายใหม่จำนวน 10 ราย

 

1,612 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการ"ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" มีขั้นตอนการดำเนินงานโดยใช้นวัตกรรม "ตั๋วสุขภาพ" ในการคัดกรองมีการจัดกลุ่มตามความเสี่ยง
สีแดง หมายถึง สงสัยป่วย (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 160/100 ระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่า 125 ) สีเหลือง หมายถึง เสี่ยง (ระดับค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 ระดับน้ำตาลในเลือด 100-125) สีเขียว หมายถึง ปกติ (ระดับค่าความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 ระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 100) ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว ผลการดำเนินการโครงการสรุปได้ดังนี้ จากผลการดำเนินงานของ โครงการ"ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" ปีงบประมาณ 2561 บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการดังนี่้ จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานด้วยการเจาะเลือดที่ปลายนิ้ว จำนวน 1,405 คน คิดเป็นร้อยละ 93.57 พบเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 7.33 และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 1.21 ได้รับการส่งต่อพบแพทย์และวินิจฉัยโรค 19 รายคิดเป็นร้อยละ 100 เป็นรายใหม่ 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.21 ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต จำนวน 1,599 คน คิดเป็น 98.67 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด 416 คนคิดเป็นร้อยละ 34.93 และพบสงสัยเป็นป่วย 161 คน คิดเป็นร้อยละ 13.52 ได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยโรค พบเป็นรายใหม่จำนวน 10 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
0.00

 

2 2ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานโดยอสม.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
0.00

 

3 3 เพื่อให้ประชาชนทราบค่าระดับความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือดของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
0.00

 

4 4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีค่าระดับความดันโลหิตและค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60
0.00

 

5 5 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและเข้าสู่กระบวนการรักษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 771
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 771
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานโดยอสม. (3) เพื่อให้ประชาชนทราบค่าระดับความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือดของตนเอง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีค่าระดับความดันโลหิตและค่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ (5) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงและสงสัยป่วยเบาหวาน ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและเข้าสู่กระบวนการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ "ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน"

รหัสโครงการ 61-L1528-1-14 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ "ตั๋วสุขภาพ ตระหนักรู้ความดันโลหิต ทำนายเบาหวาน" จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1528-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด