กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคที่นำโดยแมลง ปี 2560
รหัสโครงการ 60-L4149-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปะแต
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 207,970.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกอเดร์ดามาแร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.344,101.139place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6458 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ A1,A2 ได้รับการเจาะคัดกรองหาเชื้อ ไม่น้อยกว่า 80%

ร้อยละ 80

2 เพื่อให้ทุกหลังคาเรือนในพื้นที่ A1 ได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง ไม่น้อยกว่า 80%

ร้อยละ 80

3 เพื่อลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 50 ต่อแสนประชากร

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรมที่ 1 โรคไข้มาลาเรีย 1.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ป้องกันโรคไข้มาลาเรีย 2.เจาะเลือด/พ่นสารเคมีตกค้าง ในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย กิจกรรมที่ 2 โรคไข้เลือดออก 1. พ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง 2. จัดทีมอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับ SRRT ตำบลปะแต ออกพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงตัวเต็มวัยในกรณีพบผู้ป่วยในพื้นที่ภายใน 24 ชั่วโมง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียรวมทั้งชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรียเพิ่มมากขึ้น และชุมชนเข้ามีส่วนร่วมของปัญหาในพื้นที่จนสามารถดำเนินการควบคุมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดจนสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดเป็นแบบอย่างแก่พื้นที่อื่นได้ที่ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป
  2. อัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  3. ประชาชน มีความรู้ที่ถูกต้องในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  4. ประชาชน สามารถทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2560 14:12 น.