กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2561
รหัสโครงการ 61-L3330-1-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน
วันที่อนุมัติ 5 กรกฎาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 กรกฎาคม 2561 - 2 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 2 กันยายน 2561
งบประมาณ 24,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.39,100.145place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงพบผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด 59 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 112 ราย ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก 1 ราย ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม 3 ราย ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทั้งหมด 4 ราย
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ ๑.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงความรู้เรื่องโรคและมีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเหมาะสมกับโรค

กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอสม.มีความรู้เรื่องโรคและมีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

70.00
2 ข้อที่2. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์

60.00
3 ข้อที่ ๓. เพื่อลดอัตราการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงและลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

อัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงลดลง

40.00
4 ข้อที่ ๔. เพื่อลดอัตราตายในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

อัตราตายและการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง 

60.00
5 ข้อที่ ๕. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชน มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างถูกต้อง ยั่งยืนและต่อเนื่อง

ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงอย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน

143.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,000.00 0 0.00
30 ก.ค. 61 ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้นำชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการ 0 800.00 -
31 ก.ค. 61 - ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุมเชิงปฎิบัติการโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง - ความรู้เกี่ยวกับโรคและแนวคิดในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน 0 22,400.00 -
2 ส.ค. 61 ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้นำชุมชน เพื่อสรุปผลการดำเนินงาน 0 800.00 -

๑.ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อปท. ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางในการดำเนินงาน ๒. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและสนับสนุนงบประมาณ   ๓.ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความ เข้าใจในแนวทางเดียวกัน ๔.จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและคัดเลือก กลุ่มเป้าหมาย 100 คน จากจำนวนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง   ๕.แบ่งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเข้าร่วมกิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๒ วัน วันละ 50 คน
  6. ติดตามวัดความดันโลหิตและ น้ำตาลเฉลี่ยสะสม ( HbA1c ) หลังเข้าร่วมกลุ่มทุก 3 เดือน จำนวน 2 ครั้ง
  ๗. คัดกรองและติดตามผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า ประจำปี
๘.จัดประชุมติดตามทีม เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ การแก้ไขปัญหา อุปสรรค
  ๙.สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอสม.มีความรู้เรื่องโรคและมีการปฏิบัติตัว ที่ถูกต้อง ๒.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับ ความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ ๓.อัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงลดลง 4.อัตราตายและการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง
5.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงอย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ก.ค. 2561 14:05 น.