กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบ้านเจาะตีเม๊าะร่วมใจ ต้านภ้ยโรคไข้มาลาเรียน ปี 2560
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ทีมเฝ้าระวังและสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางซารียะ ดูมีแด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละแอ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.466,101.186place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการควบคุมและป้องกันโรคไข้มาลาเรียโดยองค์กรในชุมชน

 

2 ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้มาลาเรียตลอดจนสามารถควบคุมและป้องกันโรคได้

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อประชากรแสนคน

 

4 เพื่อให้ประชาชนได้รับการเจาะเลือดคัดกรองหาเชื้อมาลาเรีย ร้อยละ 90

 

5 เพื่อให้ประชาชนได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง ร้อยละ 80

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เขียนโครงาร เสนอขออนุมัติโครงการ
  2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาฯ
  3. เริ่มดำเนินการประชาสัมพันธ์โดยการจัดทำแผ่นป้ายโครงการ เสียงตามสายหมู่บ้าน
  4. อบรมให้ความรู้แก่แกนนำควบคุมป้องกันโรคและประชาชนบ้านเจาะตีเมาะ
  5. จัดกิจกรรมร่วมกันรณรงค์ทำความสะอาดบ้านเรือน ชุมชน ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามอย่างต่อเนื่อง
  6. พ่นสารเคมีตกค้าง/เจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรีย
  7. ติดตาม ประเมินผล พร้อมรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตามลำดับ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้มาลาเรียนตลอดจนสามารถควบคุมป้องกันโรคได้
  2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลดลงจากปีที่ผ่านมา
  3. ประชาชนให้ความร่วมมือต่อการรักษาความสะอาดบ้านเรือน ชุมชน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่ออย่างยั่งยืน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2560 15:22 น.