กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ 61-L5296-2-27
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ9 ตำบลนิคมพัฒนา
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 17 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 40,945.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑,๒,๓,๗,๘ และ ๙ ต.นิคมพัฒนา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 119 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง ปัจจุบันประเทศไทย มีอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 45.23 และในเขต 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ร้อยละ 56.58 จังหวัดสตูล ร้อยละ 51.11 อำเภอมะนัง ร้อยละ 52.40ต.นิคมพัฒนา ร้อยละ 77.78 และพบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์มีภาวะโลหิตจางเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรกประเทศไทย ร้อยละ 19.21เขต 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่างร้อยละ 21.82 และจังหวัดสตูล ร้อยละ 16.41อำเภอมะนัง ร้อยละ 25.42และ ตำบลนิคมพัฒนา ร้อยละ 10.47 จากข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ ที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียติฯ อ.มะนัง จังหวัดสตูลปี 25๖๐ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 57 คน มีอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน ๑๒ สัปดาห์ 44 คน (ร้อยละ 77.19) หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ 32 คน (ร้อยละ 56.14) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ร้อยละ 8.5และพบว่าทารกที่มาคลอด น้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 23.18 ถึงแม้ว่าสถานการณ์ของตัวชี้วัดของ พื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูลจะอยู่ในเกณฑ์ที่ดีก็ตาม แต่ยังพบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงอยู่ ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ จึงต้องเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อมของคู่สมรส การวางแผนก่อนการตั้งครรภ์ทั้งทางด้าน ร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม และครอบครัวมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัย เฉลิมพระเกียรติ ฯ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ประจำหมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มแม่และเด็กในพื้นที่รวมทั้งส่งเสริมครอบครัว ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กเพื่อให้เกิดความยั่งยืนตลอดไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 40,985.00 4 40,945.00
??/??/???? กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 0 40,945.00 375.00
12 ก.ย. 61 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มวัยเจริญพันธุ์ 0 19.00 19,070.00
26 ก.ย. 61 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส 0 11.00 11,400.00
27 ก.ย. 61 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงหลังคลอดและคู่สมรส 0 10.00 10,100.00

กลุ่มเป้าหมาย ๑. หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส  จำนวน ๖๐ คน ๒. หญิงหลังคลอดและคู่สมรส  จำนวน ๕๐ คน ๓. วัยเจริญพันธ์        จำนวน ๑๑๙ คน งบประมาณ
กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมรณรงค์ในชุมชน   - ค่าป้ายไวนิล ขนาด ๒.๕ x ๑ เมตร จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๓๗๕.- บาท กิจกรรมที่ ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส   - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๖๐ คนๆ ละ ๖๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ เป็นเงิน ๓,๖๐๐.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๖๐ คนๆ ละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๓,๐๐๐.- บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท จำนวน ๖ ชม. เป็นเงิน ๓,๖๐๐.- บาท   - ค่าวัสดุในการอบรม คนละ ๒๐ บาท (ปากกา ๕ บาท, เอกสารอบรม ชุดละ ๑๕ บาท) x ๖๐ คน เป็นเงิน ๑,๒๐๐.- บาท กิจกรรมที่ ๓ อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงหลังคลอดและคู่สมรส   - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คนๆ ละ ๖๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ เป็นเงิน ๓,๐๐๐.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คนๆ ละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๒,๕๐๐.- บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท จำนวน ๖ ชม. เป็นเงิน ๓,๖๐๐.- บาท   - ค่าวัสดุในการอบรม คนละ ๒๐ บาท (ปากกา ๕ บาท,เอกสารอบรม ชุดละ ๑๕ บาท) x ๕๐ คน เป็นเงิน ๑,๐๐๐.- บาท กิจกรรมที่ ๔ อบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มวัยเจริญพันธ์   - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑๑๙ คนๆ ละ ๖๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ เป็นเงิน ๗,๑๔๐.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๑๑๙ คนๆ ละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๕,๙๕๐.- บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท จำนวน ๖ ชม. เป็นเงิน ๓,๖๐๐.- บาท   - ค่าวัสดุในการอบรม คนละ ๒๐ บาท (ปากกา ๕ บาท,เอกสารอบรม ชุดละ ๑๕ บาท) x ๑๑๙ คน เป็นเงิน ๒,๓๘๐.- บาท         รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๔๐,๙๔๕.- บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และคู่สมรส และหญิงวัยเจริญพันธ์ สามารถนำความรู้ไปใช้กับตนเองและครอบครัวได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ส.ค. 2561 00:00 น.