กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง


“ โครงการมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปี 2561 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประวิทย์ เลิศอริยะพงษ์กุล

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561/L7886/1/3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2018 ถึง 17 พฤศจิกายน 2018


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขาพตามกลุ่มวัยต่าง ๆ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความเหมาะสมกับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน เนื้อหาจากวิทยากรเน้นให้เกิดความตระหนักในการจัดการสุขภาพของคนทุกคนที่สามารถลงมือทำได้ด้วยตัวเอง ตั้งแต่การปรับวิถีชีวิต การดำเนินชีวิต การบริโภคอาหาร การปลูกพืชผักกินเอง และการออกกำลังกาย มีการยกตัวอย่างจากพื้นที่รูปธรรมต่าง ๆ ที่ได้ศึกษามา ทำให้เข้าใจง่าย ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ย สอดคล้องกัลกลุ่มเป้าหมายทุกส่วนที่เข้ามารับฟังให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพอย่างทั่วถึง โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว การจัดบูธนิทรรศการตามกลุ่มวัย เป้าหมายในการประชาสัมพันธ์และากรจัดให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้สนใจงาน ซึ่งบูธการจัดแสดงบอร์ดนิทรรศการ และกิจกรรมการเรียนรู้แก่ผู้สนใจเข้ามาเยียมชนในแต่ละบูธ ดังนี้ กลุ่มเด็กปฐมวัย ได้แก่ การส่งเสิรมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป วัคซีนพื้นฐาน การประเมินการเจริญเติมโต ตรวจคัดกรองพัฒนาการ ตรวจสุขภาพช่องปากและทานฟลูออไรด์วานิช กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น ได้แก่การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป การประเมินการเจริญเติบโต คัดกรองสุขภาพปาก คัดกรองภาวะสายตาผิดปกติ คัดกรองความผิดปกติทางการได้ยิน คัดกรองความเสียงจากการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการเสพสารเสพติด การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์วัยรุ่นและการตั้งครรภ์ที่ไม่พี่งประสงค์ กลุ่มวัยทำงาน ได้แก่ การส่งเสิรมสุขภาพและป้องกันโรคทั่่วไป คัดกรองความเสี่ยงของการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการเสพสารเสพติด วัดความดันโลหิต คัดกรองเบาวหวาน คัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มผู้สูงอายุ ได้แก่ การส่งเสิรมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป วัดความดันโลหิต คัดกรองเบาวหวาน คัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด คัดกรองความเสียงต่อโรคหลอดเลือดสมอง ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุ และคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้า

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการปฏิรูประบบสุขภาพ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจัดรูปแบบระบบบริการ โดยกำหนดให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ซึ่งเป็นหน่วยบริการที่อยู่ใกล้ชิดประชาชน และประชาชนสามารถจะเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก มีบทบาทสำคัญในการจะเป็นผู้ที่ดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับตัวบุคคล ครอบครัวและชุมชน ก่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีเป็นกันเอง ไว้วางใจกันและเป็นส่วนหนึ่งของระบบในชุมชนนั้น อันจะนำไปสู่รูปธรรมของการสร้างสุขภาพ ซึ่งก่อผลดีทั้งในระดับตัวบุคคล ครอบครัว ชุมชน/ประเทศ สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ที่จะได้คนที่มีคุณภาพซึ่งเป็นต้นทุนทางสังคมที่สำคัญต่อไป       คำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษาทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากแต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการและองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บริโภคอาหารที่สุกสะอาดปลอดภัย ไม่ติดยาเสพติด ส่งเสริมให้ประชาชนในแต่ละชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของชมรมสร้างสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ชมรมสร้างสุขภาพเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพสู่ประชาชนส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดีเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆ ด้วยต้นทุนต่ำป้องกันโรคต่างๆ       ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลังและทีมเครือข่ายสุขภาพในชุมชน สามารถจัดบริการตอบสนองต่อความจำเป็นทางด้านสุขภาพของประชาชนขั้นพื้นฐาน มีความเชื่อมโยง ต่อเนื่องของกิจกรรมด้านสุขภาพในลักษณะองค์รวม ทั้งนี้เพื่อการสร้างสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาชน เพื่อป้องกันหรือลดปัญหาที่ป้องกันได้ทั้งทางกาย จิต สังคม โดยประชาชนมีส่วนร่วมการจัดมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี      วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบบริการ และผู้รับบริการ เป็นการกระตุ้น ส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ ของเครือข่ายสุขภาพในชุมชน เป็นการสร้างกระแสให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. กิจกรรมสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัย
  2. 2. กิจกรรมมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในชุมชนมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว ได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพอย่างทั่วถึง ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ปรับทัศนคติให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม รู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบตัวไม่ให้เกิดมลพิษและสร้างสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ เพื่อให้ปราศจากโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑. กิจกรรมสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัย

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2018

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพ เพื่อเสนอของบประมาณ เพื่อพิจารณาลงนามอนุมัติ           2. ประชุมชี้แจง ทีมงาน เตรียมงานและวางแผนจัดมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี           3. แจ้งแนวทางการจัดงานมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องทราบแนวทางปฏิบัติ           4. เชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสตูล โรงพยาบาลสตูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมม           5. ดำเนินการจัดกิจกรรมสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัย
              6.จัดกิจกรรมสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว ได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพอย่างทั่วถึง ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ปรับทัศนคติให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม รู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบตัวไม่ให้เกิดมลพิษและสร้างสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ เพื่อให้ปราศจากโรค

 

150 0

2. 2. กิจกรรมมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2018

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการมหกรรมตลาดนัดสุขภาพ เพื่อเสนอของบประมาณ เพื่อพิจารณาลงนามอนุมัติ           2. ประชุมชี้แจง ทีมงาน เตรียมงานและวางแผนจัดมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี           3. แจ้งแนวทางการจัดงานมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องทราบแนวทางปฏิบัติ           4. เชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสตูล โรงพยาบาลสตูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี           5. ดำเนินการจัดกิจกรรมสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัย และจัดมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี โดยมีกิจกรรมจัดบูธนิทรรศการต่างๆดังนี้ 5.1 บูธคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน  ดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว คัดกรองซึมเศร้า 2Q 5.2 บูธคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกซื้อและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพ บุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สาธิตตรวจอาหาร 5.3 บูธทันตกรรม  มีบริการตรวจฟัน สอนวิธีการดูแลฟัน 5.4 บูธโภชนาการ มีการสาธิตอาหารตามกลุ่มวัย จัดโมเดลอาหารแลกเปลี่ยน ตรวจพัฒนาการเด็ก 5.5 บูธควบคุมโรคติดต่อ จัดนิทรรศการ แจกทรายอะเบท  โลชั่นกันยุง สเปรย์กันยุง
    5.6 บูธขยะและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม การลด คัดแยก และ ใช้ประโยชน์ ขยะมูลฝอย 5.7 บูธแม่และเด็ก มีกิจกรรมการให้ความรู้งานอนามัยแม่และเด็ก การเตรียมตัวก่อนการตั้งครรภ์                     5.8 บูธEMS การปฐมพยาบลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน 5.9 บูธตอบปัญหาสุขภาพ กิจกรรมประกวดการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย           6. เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม           7. สรุปประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความเหมาะสมกับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน 2.ร้อยละ 80 ของประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานนวตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความเหมาะสมกับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
1.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงาน นวตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขาพตามกลุ่มวัยต่าง ๆ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความเหมาะสมกับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน เนื้อหาจากวิทยากรเน้นให้เกิดความตระหนักในการจัดการสุขภาพของคนทุกคนที่สามารถลงมือทำได้ด้วยตัวเอง ตั้งแต่การปรับวิถีชีวิต การดำเนินชีวิต การบริโภคอาหาร การปลูกพืชผักกินเอง และการออกกำลังกาย มีการยกตัวอย่างจากพื้นที่รูปธรรมต่าง ๆ ที่ได้ศึกษามา ทำให้เข้าใจง่าย ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ย สอดคล้องกัลกลุ่มเป้าหมายทุกส่วนที่เข้ามารับฟังให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวได้รับบริการสร้างเสริมสุขภาพอย่างทั่วถึง โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว การจัดบูธนิทรรศการตามกลุ่มวัย เป้าหมายในการประชาสัมพันธ์และากรจัดให้เกิดกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้สนใจงาน ซึ่งบูธการจัดแสดงบอร์ดนิทรรศการ และกิจกรรมการเรียนรู้แก่ผู้สนใจเข้ามาเยียมชนในแต่ละบูธ ดังนี้ กลุ่มเด็กปฐมวัย ได้แก่ การส่งเสิรมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป วัคซีนพื้นฐาน การประเมินการเจริญเติมโต ตรวจคัดกรองพัฒนาการ ตรวจสุขภาพช่องปากและทานฟลูออไรด์วานิช กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น ได้แก่การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป การประเมินการเจริญเติบโต คัดกรองสุขภาพปาก คัดกรองภาวะสายตาผิดปกติ คัดกรองความผิดปกติทางการได้ยิน คัดกรองความเสียงจากการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการเสพสารเสพติด การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์วัยรุ่นและการตั้งครรภ์ที่ไม่พี่งประสงค์ กลุ่มวัยทำงาน ได้แก่ การส่งเสิรมสุขภาพและป้องกันโรคทั่่วไป คัดกรองความเสี่ยงของการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการเสพสารเสพติด วัดความดันโลหิต คัดกรองเบาวหวาน คัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มผู้สูงอายุ ได้แก่ การส่งเสิรมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป วัดความดันโลหิต คัดกรองเบาวหวาน คัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด คัดกรองความเสียงต่อโรคหลอดเลือดสมอง ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุ และคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้า

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

1.การประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการยังไม่ทั่วถึงมากนักทำให้ประชาชนบางส่วนไม่ทราบข่าวและไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม 2.ในระหว่างการดำเนินกิจกรรมเกิดฝนตกทำให้ประชาชนที่สนใจมาเข้าร่วมกิจกรรม ไม่สามารถเดินทางมาได้ และทำให้กิจกรรมการบรรยายบนเวทีต้องล่าช้าออกไปห เนื่องจากที่นั่งฟังการบรรยายเป็นใต้ร่มไม้ ไม่มีที่หลบฝน

 

1.เพิ่มช่องทางการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้หลากหลายมากขึ้นเพื่อกระจายข่าวสารแก่ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม 2.เปลี่ยนแปลงกำหนดการกิจกรรม โดยในช่วยระยะที่ฝนตก ให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมกิจกรรมตามบูธแต่กลุ่มวัยก่อนจนกว่าฝนจะหยุด


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปี 2561

รหัสโครงการ 2561/L7886/1/3 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2018 - 17 พฤศจิกายน 2018

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการมหกรรมตลาดนัดคนสุขภาพดี วิถีเจ๊ะบิลัง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561/L7886/1/3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประวิทย์ เลิศอริยะพงษ์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด