กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะที่ต้นทางของชุมชน ประจำปี 2561
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 1 สิงหาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 82,560.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักปลัดอบต.ตะโละหะลอ
พี่เลี้ยงโครงการ นายรุสลัน สาระ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
433.00
2 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
600.00
3 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
700.00
4 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
9.00
5 จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
3.00
6 จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)
20,000.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน ปัญหาการจัดขยะเป็นปัญหาใหญ่ของหลายๆประเทศในประเทศไทยเองก็กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะมีความรุนแรงตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัด และ ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิดของเสียอันตรายจากชุมชนประมาณ ๑ ใน ๔ ของทั้งหมด และที่มาของเสียอันตรายจากชุมชนมากกว่าครึ่งที่กำจัดในสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอย การถูกกำจัดพร้อมขยะมูลฝอยชุมชนหรือปล่อยทิ้งสู่ท่อน้ำเสียหรือระบบสู่สิ่งแวดล้อมโดยตรง การกระทำเช่นนี้เพิ่มความเสี่ยงของสาธารณะ และอาจจะส่งผลให้มีการปนเปื้อนของน้ำใต้ดินอีกด้วย นโยบายรัฐบาลปัจจุบัน ได้กำหนดการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติที่ต้องได้รับการแก้ไขเป็นลำดับแรกโดยให้ดำเนินการตาม Road map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่ผ่านการเห็นชอบจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพื่อกำจัดมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดในพื้นที่วิกฤตสร้างรูปแบบการกำจัดขยะและของเสียอันตรายที่เหมาะสม วางระเบียบมาตรการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันราย และสร้างวินัยของคนในชาติโดยมุ่งเรื่องการคัดแยกขยะเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ทั้งการรีไซเคิล และการแปรรูปเป็นพลังงาน จากสภาพปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศที่เพิ่มปริมาณมากขึ้นในทุกปี ประกอบกับการหาพื้นที่สำหรับเป็นที่ตั้งของระบบกำจัดขยะมีปัญหาถูกต่อต้านจากชุมชน การเข้าไปใช้พื้นที่ป่า หรือพื้นที่สาธารณะ ก็มักก่อให้เกิดปัญหาการทำลายระบบนิเวศและเกิดปัญหามลพิษแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดการเพื่อลดปริมาณขยะจากต้นทาง จึงเป็นมาตรการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการสร้างวินัยของคนในชาติในการคัดแยกขยะเพื่อนำกลับไปใช้ใหม่ เป็นการใช้ทรัพยากรประหยัด คุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละหะลอจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เพื่อให้สามารถนำไปสู่การจัดการขยะที่ถูกต้อง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ๒. เพื่อให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะและนำไปใช้ประโยชน์ ๓. เพื่อให้สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนรักสิ่งแวดล้อม

ประชาชนมีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ๒. ประชาชนมีการคัดแยกขยะและนำไปใช้ประโยชน์ ๓. สามารถสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนรักสิ่งแวดล้อม

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๔. ดำเนินตามโครงการ   ๔.๑ การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และการสาธิตการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ให้กับ
    กลุ่มเป้าหมายในหมู่บ้าน   ๔.๒ การดำเนินกิจกรรมการคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิดในแต่ละครัวเรือน จะต้องดำเนินกิจกรรม
          การคัดแยกขยะครบทั้ง ๔ ประเภทและแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมการคัดแยกขยะ
          แต่ละประเภทอย่างชัดเจน (ขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ ขยะอันตรายและขยะทั่วไป)
  ๔.๓ ดำเนินการรวบรวมหรือกำจัดหรือการนำไปใช้ประโยชน์ของขยะในแต่ละประเภท - ขยะรีไซเคิล เก็บรวบรวมที่พักขยะ ของหมู่บ้าน ขายนำรายได้เข้ากองกลาง - ขยะอินทรีย์ จัดอบรมให้ความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ
      - ขยะอันตราย องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละหะลอดำเนินการเก็บรวบรวมเพื่อส่งให้           องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลาส่งไปกำจัด
          -ขยะทั่วไป องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละหะลอดำเนินการเก็บรวบรวมส่งไปกำจัดที่ทิ้ง             ขยะของเทศบาลนครยะลา   4.4 ประสานหน่วยงานราชการในพื้นที่ตำบลตะโละหะลอ และประชาชน ร่วมกันเดินรณรงค์
    โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะที่ต้นทางของชุมชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ๒. ประชาชนมีการคัดแยกขยะและนำไปใช้ประโยชน์ ๓. สามารถสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนรักสิ่งแวดล้อม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2561 10:28 น.