กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองร้อยละ 35
4.27 35.00 35.00

ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และภาวะซึมเศร้า

2 2.เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงปรับพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 2.ผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งต่อร้อยละ 10
6.19 10.00 10.00

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

3 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรักษา ได้รับการส่งต่อไปรักษาต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 3. ผู้สูงอายุที่ออกกำลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
12.00 10.00 10.00

ผู้สูงอายุได้รับการรักษาและส่งต่อไปรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 285 285
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 285 285
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และภาวะซึมเศร้า (2) 2.เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงปรับพฤติกรรม (3) 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรักษา ได้รับการส่งต่อไปรักษาต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดทำข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการคัดกรอง (2) 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อาสาสมัครสาธารณสุข ให้มีความรู้และทักษะในการใช้แบบประเมินหรือแอพพิเคชั่นโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) วิธีการคัดกรองตาต้อกระจกด้วยการนับนิ้วมือระยะ 10 ฟุต และการใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q/9Q (3) 3. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข โดย -เจ้าหน้าที่ สธ ตรวจคลำชีพจร ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหาผู้ที่มีชีพจรเต้นผิดจังหวะ เพื่อส่งต่อไปรับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ รพ. -เจ้าหน้าที่ สธ คัดกรองโอกาสเสี่ยงต่อ (4) 5. ประสานและติดตามข้อมูลรายที่ส่งต่อไปยัง รพ และออกเยี่ยมให้คำปรึกษา (5) 4. อาสาสมัครสาธารณสุขออกเยี่ยมบ้านทุก 2-4 สัปดาห์ เพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองด้วยการออกกำลังกาย การกินผักผลไม้มากขึ้น การลดและควบคุมน้ำหนัก (6) 6. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh