กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกองทุนหมุนเวียนอาหารกลางวันเด็กนักเรียนตาดีกาอัตตัรบียะห์อิสลามียะห์ (บ้านบือแนบาตู) ม.4 ต.กะรุบี อ.กะพ้อ จ.ปัตตานี
รหัสโครงการ 011/2560
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์ตาดีกาอัตตัรบียะห์อิสลามียะห์
วันที่อนุมัติ 15 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 37,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอดิเรกกามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.57,101.556place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากเด็กคืออนาคตของชาติ ชุมชนจะเข้มแข็งได้ด้วยพลังเยาวชนรุ่นใหม่ที่เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต รากเหง้าของปัญหาในวันนี้เนื่องจากส่วนใหญ่ทุกหน่วยงานไปแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่ว่าจะเป็นปัญหายาเสพติด ความปลอดภัยในทรัพย์สิน รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย หรือว่าเด็กไม่ค่อยสนใจการเรียนต่อให้สูงขึ้น ล้วนแต่เป็นปัญหาปลายเหตุ ดังนั้นวิธีแก้ปัญหาทั้งหลายจะสำเร็จได้ด้วยให้ครอบครัวเข้มแข็ง สถาบันการศึกษาในุชุมชนเข้มแข็ง องค์กรศา่สนาในพื้นที่เข้มแข็ง ปัญหาทุกอย่างจะหมดโดยปริยาย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็ก ๆ เห็นความสำคัญของอาหารครบ 5 หมู่

เด็ก 150 คน สามารถนำผลผลิตที่ปลูกเองบริโภคเอง ถูกตามหลักโภชนาการ เช่น ผัก ไข่ ไก่ และปลา เป็นต้น

2 ส่งเสริมให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การช่วยเหลือเด็กที่อยู่นอกพื้นที่ บ้านอยู่ห่างไกลจากศูนย์ฯ

เด็กนอกพื้นที่มีอาหารกลางวันกินโดยไม่ต้องกลับไปกินที่บ้าน

3 ฝึกให้เด็กมีวินัย มีความรับผิดชอบในการรักษากองทุนฯ

เด็กมีความรับผิดชอบเป็นกลุ่ม ๆ เช่น กลุ่มเลี้ยงไก่ ปลูกผัก เป็นต้น

4 ฝึกให้เด็กมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ร่วมกัน

เยาวชนในพื้นที่สามารถดูแลเด็ก ๆ ในกลุ่มโดยเป็นพี่เลี้ยงในการปฏิบัติจริง เพื่อหาประสบการณ์ทำให้เพิ่มทักษะ และเรียนรู้จากพี่เลี้ยงที่ประสบผลสำเร็จแล้วในหมู่บ้าน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.เลี้ยงปลาในบ่อซีเมนตร์ 2.เลี้ยงไก่ไข่ 3.ปลูกผักในกระถาง 4.ปลูกผักบนร่อง 5.ปลูกมะนาวในขอบบ่อ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กสามารถรับประทานอาหารเที่ยงครบ 100 % 2.รายได้จากการขายผลผลิต หรืออาหารที่ปลูกกินเองสามารถลดต้นทุนอาหารกลางวันได้ร้อยละ 40 หรือจากงบประมาณในการเลี้ยงอาหารกลางวัน 12,000 บาทต่อเดือน กองทุนสามารถสมทบได้ 5,000 บาท/เดือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2560 15:29 น.