กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองน้ำใส


“ โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส ”

ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส

ชื่อโครงการ โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส

ที่อยู่ ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส จังหวัดสระแก้ว" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองน้ำใส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองน้ำใส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พยาธิใบไม้ตับ (opisthorchis viverrini) ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มพยาธิก่อมะเร็งและองค์การอนามัยโลกยังจัดพยาธิใบไม้ตับชนิดนี้ว่าเป็นตัวก่อมะเร็งชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 และถูกยืนยันอีกครั้ง    ในปี พ.ศ. 2552 จากรายงานการเสียชีวิตจากสาเหตุโรคมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดีของประชาชน 19 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พบว่าเสียชีวิต ปีละ 28,000 คน เฉลี่ยวันละ 76 คน 9 ใน 10    เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา 80,000 บาทต่อราย หรือประมาณ 22,400 ล้านบาทต่อปี จังหวัดที่มีอัตราการเสียชีวิตด้วยมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดีสูงสุด คือ สกลนคร ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม อุดรธานี ยโสธร นครพนม อำนาจเจริญ และแพร่ กระทรวงสาธารณสุข ตั้งเป้าหมายควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับในทุกพื้นที่ในประเทศไทย  ให้เหลือไม่เกินร้อยละ 5.00 ภายในปี พ.ศ. 2559 จากการสำรวจทางระบาดวิทยาโรคหนอนพยาธิของประเทศไทยใน ปี พ.ศ. 2552 พบว่า คนไทยร้อยละ 18.00 เป็นโรคหนอนพยาธิ พบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ร้อยละ 26.00 ภาคเหนือพบร้อยละ 18.00 และพบอัตราติดโรคพยาธิใบไม้ตับ ร้อยละ 8.70 หรือคนไทยประมาณ 6 ล้านคน มีพยาธิใบไม้ตับอยู่ในร่างกาย และผู้ที่เคยเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับและกินยารักษาพยาธิแล้วกลับมาเป็น  ซ้ำอีกสูงถึงร้อยละ 12.00 ซึ่งจากการวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง พบว่าประชาชนในพื้นที่ที่พบโรคพยาธิใบไม้ตับสูง ยังคงกินอาหารที่ทำจากเนื้อปลาน้ำจืดเกล็ดขาวดิบๆ หรือสุกๆ ดิบๆ เป็นประจำ ร้อยละ 7.00 และกินเป็นครั้งคราว ร้อยละ 84.00 และร้อยละ 38.00 ยังมีพฤติกรรมถ่ายอุจจาระนอกส้วม เช่น ในทุ่งนาเป็นบางครั้ง หาก    ไม่ดำเนินการควบคุมโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จะทำให้สถานการณ์โรคพยาธิใบไม้ตับของประเทศไทยกลับมาเป็นปัญหารุนแรงขึ้นได้อีก (ศิวัชญ์ ทองนาเมือง และรุจิรา ดวงสงค์, 2555, หน้า 81-82)
โรคพยาธิใบไม้ตับส่วนใหญ่ไม่มีอาการ เมื่อมีพยาธิสะสมมากๆ เป็นเวลานานอาจจะทำให้เกิดอาการ เช่น ท้องอืด แน่นท้อง เจ็บบริเวณชายโครงขวา ออกร้อนบริเวณหน้าท้อง มีอาการอักเสบของท่อน้ำดี ดีซ่าน ตับโต มีไข้ ระยะสุดท้ายของโรค ผู้ป่วยจะผอมซีด บวม บางรายเป็นโรคตับแข็ง มีน้ำในช่องท้องหรือท้องมาน สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการต่างๆ เนื่องจากพยาธิหลั่งสารและหรือตัวพยาธิเองเกาะผนังลำไส้ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อ    ผนังท่อน้ำดี และการอุดตันของท่อน้ำดี เนื่องจากพยาธิมีการเคลื่อนตัวไปมาในนั้น บางตัวอาจไปทำให้เกิดอุดตันท่อน้ำดีส่วนปลาย นอกจากนั้นของเสียที่ขับออกมาจากตัวพยาธิยังก่อให้เกิดการระคายเคืองของท่อน้ำดีอีกด้วย ผู้ป่วยมักมีอาการเบื่ออาหาร มีไข้ต่ำๆ ตับอาจโตกดเจ็บ และเริ่มมีอาการตัวเหลือง เริ่มมีภาวะแทรกซ้อน เช่น  ท่อน้ำดีอักเสบเรื้อรังเป็นๆ หายๆ มีไข้สูงปานกลาง ตัวเริ่มเหลืองมากขึ้น ตับโต กดเจ็บ เริ่มมีอาการตับแข็ง ม้ามโต แรงดันเลือดสูง อาจพบมะเร็งของท่อน้ำดีร่วมด้วย (ณัฏฐวุฒิ แก้วพิทูลย์ และสรญา แก้วพิทูลย์, 2553, หน้า 56) อาหารก่อโรคที่เสี่ยงต่อพยาธิใบไม้ตับที่ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมกินที่ทำจากปลาที่ปรุงไม่สุก เช่น ก้อยปลา ปลาสด ปลาส้ม ปลาจ่อม หม่ำปลา ปลาหมกไฟ ปลาปิ้ง ลาบปลา ปลาร้า แจ่วบ่อง ซึ่งตัวอ่อนของพยาธิระยะติดต่อยังมีชีวิตอยู่ และสามารถเจริญเติบโตเป็นพยาธิตัวเต็มวัยในท่อน้ำดีภายในตับได้ นอกจาก      พยาธิใบไม้ตับที่เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมะเร็งของท่อน้ำดีแล้ว ยังพบว่ามีสารไนโตรซามีน (nitrosamine)  ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งในอาหารพวกโปรตีนหมัก เช่น ปลาร้า ปลาส้ม หมูส้ม แหนม และอาหารพวกเนื้อสัตว์ที่ผสมดินประสิว เช่น กุนเชียง ไส้กรอก เนื้อเค็ม ปลาเค็ม ก็เป็นปัจจัยเสริมก่อโรคด้วย (โกศล รุ่งเรืองชัย, ออนไลน์, 2555) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ได้ดำเนินการตรวจอุจจาระหาไข่หนอนพยาธิในประชาชนอายุ 2 ปีขึ้นไป ในพื้นพบว่า ปี พ.ศ. 2560 พบไข่หนอนพยาธิ จำนวน    11 ราย จากจำนวนผู้ส่งอุจจาระตรวจทั้งหมด 522 ราย คิดเป็นอัตราความชุกร้อยละ 2.10 พบอันดับหนึ่งคือพยาธิใบไม้ตับ และจากการสอบถามข้อมูลพบว่าบุคคลที่ตรวจอุจจาระหาไข่หนอนพยาธิ ตรวจไม่พบ แต่ยังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ยังคงมีพฤติกรรมทานอาหารนิยมกินที่ทำจากปลาที่ปรุง  ไม่สุก เช่น ก้อยปลา ปลาสด ปลาส้ม ปลาจ่อม หม่ำปลา ปลาหมกไฟ ปลาปิ้ง ลาบปลา ปลาร้า แจ่วบ่อง เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพยาธิใบไม้ตับ และเป็นวัฒนธรรมที่นิยมทานปลาดิบมาแต่    บรรพบุรุษ ถึงแม้ว่าผลการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิในพื้นที่ตำบลคลองน้ำใส อัตราความชุกยังไม่เกินร้อยละ10  แต่ประชาชนส่วนใหญ่ยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส จึงได้จัดทำโครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ      ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพยาธิใบไม้ตับ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไมตับลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม “โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ”
  2. เยี่ยมบ้านประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วม“โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ร้อยละของคะแนนความรู้เกี่ยวกับโรคพยาธิใบไม้ตับภายหลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ร้อยละของคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ภายหลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เยี่ยมบ้านประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วม“โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ”

วันที่ 1 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-เจ้าหน้าที่สาธารณสุขลงพื้นที่เยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ กระตุ้น ให้กำลังใจ ชมเชย แนะนำปัญหาอุปสรรคที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละของคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ภายหลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง

 

70 0

2. อบรม “โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ”

วันที่ 18 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม/แจกแบบทดสอบความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ที่เสี่ยง  โรคพยาธิใบไม้ตับ ก่อนการอบรม -ชี้แจงรายละเอียดโครงการ
-บรรยายวิชาการเรื่องโรคพยาธิใบไม้ตับ
-แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ
-นำเสนออภิปรายกลุ่มและสรุปเนื้อหาและปิดการประชุม
วันที่สอง ลงทะเบียน - บรรยายวิชาการพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ - ดูวีทัศน์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการป่วยโรคพยาธิใบไม้ตับ มีความรุนแรงอันตรายถึงเสียชีวิต -นำเสนออภิปรายกลุ่มที่ได้จากฟังบรรยายและจากการดูวีดีทัศน์ - วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงของตนเอง
-สรุป/อภิปรายปัญหาทั่วไป และแจกแบบทดสอบความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละของคะแนนความรู้เกี่ยวกับโรคพยาธิใบไม้ตับภายหลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพยาธิใบไม้ตับ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงผ่านเกณฑ์คะแนนการทดสอบความรู้เรื่องโรคพยาธิใบไม้ตับ
80.00 95.71

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไมตับลดลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงผ่านเกณฑ์คะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพยาธิใบไม้ตับ (2) เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิใบไมตับลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม “โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ” (2) เยี่ยมบ้านประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วม“โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

อบรมโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยง แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลัง

ค้นหากลุ่มเสี่ยงเพื่อเข้าอบรมโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

มีการแบ่งกลุ่มระดมสมองร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับโดยทุกคนมีส่วนร่วมแก้ปัญหาร่วมกัน

มีกิจกรรมการแบ่งกลุ่ม

ทำให้ได้รับทราบปัญหาที่แท้จริงนำไปสู่การแก้ไขปัญหาต่อไปในชุมชนเช่น สร้างนโยบายสาธารณะ ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเจ้าของในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน นำไปสู่การยั่งยืนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีกิจกรรมการอบรมให้ความรู้ มีการติดตามเยี่ยมบ้านภายหลังอบรม

ประชาชนกลุมเสี่ยงได้รับการอบรม

อาจมีกิจกรรมลงพื้นที่ดูผู้ป่วยที่เป็นสาเหตุเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ให้ความรู้ด้านสุขอนามัยบุคคลได้แก่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ด้านความสะอาด สุขลักษณะการล้างมือ การเข้าห้องน้ำ การขับถ่ายที่ถูกสุขลักษณะ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

-อบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับและโรคต่างๆ -ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร -มีการแบ่งกลุ่มอภิปรายกลุ่ม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีกิจกรรมการออกกำลังกายโดยการออกกำลังกายท่าฤาษีดัดตนแทรกในกิจกรรมการอบรม

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีกิจกรรมผ่อนคลายความเครียดโดยการนั่ สมาธิ/ฝึกผ่อนคลาย ด้วยกิจกรรมเพลงดอกไม้บานแทรกในการอบรม

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของแต่ละคนโดยใช้แบบประเมินพฤติกรรม

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการประชาคมหมู่บ้านเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค

ประชาชนตำบลคลองน้ำใส

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการวิเคราะห์ปัญหาในชุมชนแก้ไขปัญหาชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหานำไปสู่การวางแผนแก้ไขปัญหา ส่งผลให้ชุมชนเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ แผนงานโครงการนี้ ประชาชนได้เข้าถึงบริการสุขภาพโดยได้ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ อบรมให้ความรู้ ติดตามเยี่ยมบ้าน ส่งผลให้ชุมชนเข้าถึงระบบบริการสุขภาพได้

ประชาชนตำบลคลองน้ำใส

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ประชาคมหาข้อตกลงเป็นกติกาของชุมชน

ประชาคมหมู่บ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ได้มีการประชาคมหมู่บ้านจนได้ข้อตกลงมติชุมชน

ประชาคมหมู่บ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ทุกภาคส่วนกลุ่มองค์การและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาร่วมกันแต่ละบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน

ประชุม/ประชาคม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการวิเคราะห์ข้อมูล/ประชาคมหมู่บ้าน/แผนงานโครงการ

บรรจุในแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการเสนอของบประมาณไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

บรรจุในแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการประชุมขอเสนองบประมาณอย่างต่อเนื่อง

ประชุมเสนอแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

ประชาชนได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้นนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและสามารถดูแลตนเองได้

กิจกรรมตามแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ประชาคมหมุู่บ้านร่วมกันระดมสมองคิดวิเคราะห์จนได้แผนงานโครงการแก้ไขปัญหาโดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา

ประชาคมหมู่บ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ประชาชนและทุกภาคส่วนเข้ามามีส่่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ประชุม / ประชาคม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการช่วยเหลือพึ่พากันและกัน

มีชมรม/กลุ่มในพื้นที่

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลคลองน้ำใส จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด