กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองน้ำใส


“ โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส

ชื่อโครงการ โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดสระแก้ว" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองน้ำใส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองน้ำใส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของโลก เป็นภัยคุกคามที่ลุกลามอย่างรวดเร็วไปทั่วโลก  ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างมาก จากข้อมูลสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ รายงานว่าในปัจจุบันทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน 4 ล้านคนต่อปี เฉลี่ย 8 วินาทีต่อ 1 คน และพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานมากกว่า 300 ล้านคน คนที่อยู่ในประเทศที่มีรายได้ต่ำและปานกลางมีโอกาสมีโอกาสเป็นเบาหวานเร็วกว่าคนที่      อยู่ในประเทศที่มีรายได้สูง 10-20 ปี โดยพบมากขึ้นในวัยทำงาน ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก พบว่าทั่วโลก    มีผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงเกือบถึง 1,000 ล้านคน สองในสามของจำนวนนี้อยู่ในประเทศกำลังพัฒนาโดยพบว่าคนในวัยผู้ใหญ่ของเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย ประชากร 1 ใน 3 คน จะมีภาวะความดันโลหิตสูงแต่ละปีประชากรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีผู้เสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูงประมาณ 1.5 ล้านคน  (วิชัย เทียนถาวร, 2556, หน้า 6) องค์การอนามัยโลกรายงานใน พ.ศ.2549 ว่าประชากรโลกถึง 1 ใน 4      มีภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน และคาดการณ์ว่าปัญหาจะรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยใน พ.ศ.2558 อัตราภาวะน้ำหนักเกินจะสูงขึ้นเป็น 1 ใน 3 นอกจากนี้เด็กมีอายุต่ำกว่า 5 ปี มีถึง 22 ล้านคนที่อยู่ในภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ในจำนวน  นี้ประมาณ 3 ใน 4 ของเด็กมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลางและต่ำ (นงนุช ใจชื่น และทักษพล ธรรมรังสี, 2557, หน้า 4-30)
สถานการณ์ในประเทศไทยสองปีที่ผ่านมา มีคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน 3.5 ล้านคน แต่มีถึง      1.1 ล้านคนที่ไม่รู้ว่าตนเองป่วย ที่น่าห่วงยิ่งไปกว่านั้นก็คือ ผู้ป่วยเหล่านี้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองสูงกว่าคนปกติถึง 2-4 เท่า และมากกว่าครึ่งมีความผิดปกติของระบบประสาทและเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในผู้ชาย เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า และไต (วิชัย เทียนถาวร, 2556, หน้า 6) ส่วนคนไทยที่ป่วยด้วย    โรคความดันโลหิตสูง เกือบ 11 ล้านคน เสียชีวิต 5,165 คน และพบป่วยรายใหม่เพิ่มเกือบ 1 แสนคน ร้อยละ 50 ไม่รู้ตัวว่าเป็นโรค มีแนวโน้ม (ชัชดนัย มุสิกไชย พงษ์ วรพงศ์พิเชษฐ และสุจินต์ ชวิตรานุรักษ์, 2558, หน้า 9)  ส่วนโรคอ้วน พบว่าการสำรวจสุขภาพประชากรไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ.2546-2547 และครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552 เมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ย  ดัชนีมวลกาย ของประชากรชายและหญิงไทยอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป มีความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในผู้หญิงเพิ่มร้อยละ 34.40        เป็นร้อยละ 40.70 ส่วนในผู้ชายเพิ่มจากร้อยละ 22.50 เป็นร้อยละ 28.40 ภายในระยะเวลา 7 ปี และ      เมื่อเปรียบเทียบภาวะอ้วนลงพุง พบว่าความชุกเพิ่มขึ้นเช่นกัน จากการสำรวจ พ.ศ. 2547 ในผู้หญิงร้อยละ 36.10 ส่วนในผู้ชายร้อยละ 15.40 เพิ่มเป็นร้อยละ 45.00 และ 18.60 ในพ.ศ.2552 ตามลำดับ นอกจากนี้เกือบ 3 ใน 10 คนของผู้ชายไทย และ 4 ใน 10 คนของผู้หญิงไทยอยู่ในเกณฑ์ภาวะน้ำหนักเกิน (BMI≥ 25-29.9 กก./ตร.เมตร) สำหรับภาวะอ้วน (BMI≥ 30 กก./ตร.เมตร) ของประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่า มีร้อยละ 18.60 ในชายไทย และร้อยละ 45.00 ในหญิงไทย (นงนุช ใจชื่น และทักษพล ธรรมรังสี, 2557, หน้า 4-30)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส ได้ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปมารับบริการตรวจคัดกรอง 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี 2558 คัดกรองโรคเบาหวาน เป้าหมาย 2,229 ราย ผลงาน 1,256 ราย คิดเป็นร้อยละ 56.35 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย    2,012 ราย ผลงาน 1,088 ราย คิดเป็นร้อยละ 54.08 ปี 2559 คัดกรองโรคเบาหวาน เป้าหมาย 2,292 ราย ผลงาน 2,113 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.19 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 2,099 ราย ผลงาน 1,920 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.47 ปี 2560 คัดกรองโรคเบาหวาน เป้าหมาย 1,837 ราย ผลงาน 1,476 ราย คิดเป็น    ร้อยละ 80.35 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 1,568 ราย ผลงาน 1,363 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.93  และผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ปีพ.ศ.2558-2560) พบว่า พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 63, 65 และ 77 ราย คิดเป็นร้อยละ (5.02 3.08 และ 5.22 ตามลำดับ) พบกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน จำนวน 8, 10 และ 25 ราย ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ (0.64 0.47 และ 1.69) พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 408, 550 และ 329 ราย ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ (37.50 28.65 และ 24.14) พบกลุ่มเสี่ยงสูง    โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 85, 144 และ 85 คิดเป็นร้อยละ (7.81 7.50 และ 6.24) ตามลำดับ จากข้อมูลดังกล่าวพบว่าเกณฑ์ตัวชี้วัดในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 ขึ้นไป ซึ่งผลงานสามปีย้อนหลังพบว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดและยังพบกลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและลดลง จากข้อมูลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส จึงได้จัดทำโครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลคลองน้ำใส  อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนสนใจสุขภาพตนเอง และเข้ามาตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตเพิ่มขึ้น ได้รับทราบพฤติกรรมเสี่ยงของตนเองนำไปสู่การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคและความดันโลหิตสูง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
  2. เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป
  3. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  6. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,837
กลุ่มผู้สูงอายุ 620
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ร้อยละ 90 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยยละ 100 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด สุรา และสูบบุหรี่ ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ความรู้ในเรื่องโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคได้แก่ อาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียด สุรา และสูบบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 31 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยใช้กระบวนการ 3 อ 2 ส(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 100 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่)

 

159 0

2. คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 31 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงพื้นที่ตรวจสุขภาพโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว        วัดรอบสะโพก ระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด เป็นต้น และสัมภาษณ์พฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพด้านการบริโภคอาหารการ ออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด สุรา สูบบุหรี่ ในประชาชน อายุ 35ปีขึ้นไป ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
2. รวบรวมข้อมูลผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการบันทึกรายงานเข้าโปรแกรมระบบฐานข้อมูล JHCIS
3. สรุปวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์พฤติกรรมเสี่ยงด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย      และการจัดการความเครียด สุรา บุหรี่ เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง 4. สรุปผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

 

1,837 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)
50.00 45.00

 

2 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
50.00 45.00

 

3 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
70.00 50.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
60.00 40.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
70.00 40.00

 

6 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2457
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,837
กลุ่มผู้สูงอายุ 620
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ (2) เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป (3) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (6) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ให้ความรู้เรื่องโรคเรื้อรัง/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาานและความดันโลหิตสูง

หมู่บ้านต้นแบบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถปรับปเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังโรค

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ทุกภาคส่่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมกันแสดงความคิดเห็นร่วมเป็นเจ้าของ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการให้ความรู้การดูแลสุขภาพตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้กระบวนการ 3 อ 2 ส (อาหาร ออกำลังกาย อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่)

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

สร้างนโยบายสาธารณะ/หมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ให้ความรู้/ติดตามเยี่ยมบ้าน ในการปรับเปลียนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ประชาชนกลุ่มเสี่ยง

คืนข้อมูลลงสู่ชุมชนและแก้ไขปัญหาร่วมกันทุกภาคส่วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีกิจกรรมออกกกำลังกายโดยท่าฤาษีดัดตน

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละหมู่บ้าน

ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

กิจกรรมให้ความรู้เรื่องเหล้าบุหรี่

ประชาชนตำบลคลองน้ำใส

คนต้นแบบในการเลิกบุหรี่เหล้า

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอารมณ์

ประชาชนตำบลคลองน้ำใสและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ให้ความรู้และติดตามเยี่ยมบ้านในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

การจัดการตนเองได้นำไปสู่คนในครอบครัวและุชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีกิจกรรมระบบการส่งต่อกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

ระบบการส่งต่อ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-เฝ้าระวังโรคโดยการคัดกรองสุขภาพโดยทีมอสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข -มีระบบการส่งต่อผู้ป่วยในชุมชนส่งมายังรพ.สต.โดยอสม.และภาคีเครือข่ายในชุมชน -รพ.สต.ลงพื้นที่ยืนยันทันทีเมื่อมีการรายงานมายังรพ.สต. -มีคลิกนิคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในหน่วยบริการ -มีระบบการให้คำปรึกษาระหว่างหน่วยงานรพ.สต.และรพ. -มีระบบการส่งต่อที่มีคุณภาพ -ติดตามเยี่ยมบ้านคนป่วย

ประชาชนตำบลคลองน้ำใส

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการประเมินสรุปผลการดำเนินงาน คืนข้อมุลให้กับชุมชน ประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดทำแผนงานโครงการ

ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

บรรจุในแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีกิจกรรมการคืนข้อมูลให้ชุมชนได้รับทราบ มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานจากประชาชนและภาคีเครือข่ายโดยการประชาคมหมู่บ้านในการจัดทำแผนงานโครงการ

บรรจุในแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ประชาคมหมู่บ้านนำไปสู่แผนงานโครงการ

ประชาคมหมู่บ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ประชาชนตำบลคลองน้ำใส/ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหาอุปสรรคที่เจอ ช่วยกันแก้ไขปัญหา มีสิ่งดีๆ ก็มาเล่าคุยกัน

กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการคัดรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด สระแก้ว

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองน้ำใส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด