กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน


“ หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562 ”

อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางมาหลา เจ๊ะอูมา

ชื่อโครงการ หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3001-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังให้ทันตสุขศึกษา (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีทัศนคติดีขึ้นหลังจากได้รับทันตสุขศึกษา (3) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของลูกได้อย่างถูกวิธี (4) 4.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของลูก (2) 2.สอนผู้ปกครองแปรงฟันให้ลูกแบบลงมือปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ปกครองเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของลูก

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุในฟันน้ำนมเป็นปัญหาที่พบมากในเด็กก่อนวัยเรียนจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ ๗ (สำนักทันตสาธารณสุข,กรมอนามัย,๒๕๕๕) โดยในภาพรวมประเทศ พบว่า เด็กอายุ ๓ ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ ๕๐.๖ ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) ๒.๗ ซี่/คน เด็กอายุ ๕ ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุสูงถึงร้อยละ ๗๕.๙ ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) ๔.๔ ซี่/คน โดยภาคใต้เด็กอายุ ๓ ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ ๕๙.๘ ค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (dmft)๓.๑ ซี่/คนเด็กอายุ ๕ ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ ๘๒.๖ มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (dmft)๕.๐ ซี่/คน ซึ่งพบฟันผุสูงสุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆ และเมื่อเด็กอายุเพิ่มขึ้นแนวโน้มการเกิดฟันผุยิ่งเพิ่มสูงขึ้นจากการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กช่วงอายุ ๐-๓ ปีที่มารับบริการที่รพ.สต.เกาะจัน เดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ จำนวน ๓๐ คน พบว่า เด็กมีปัญหาฟันผุ ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๗ พฤติกรรมการแปรงฟันของเด็กอายุ ๓ ปี พบว่า ภาคใต้ผู้ปกครองแปรงฟันให้แก่เด็กตอนเช้า ร้อยละ ๔๘.๙เด็กแปรงฟันเองร้อยละ ๕๐.๖พฤติกรรมการแปรงฟันของเด็กช่วงอายุ ๐-๓ ปีที่มารับบริการที่รพ.สต.เกาะจัน พบว่า ผู้ปกครองแปรงฟันให้โดยใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ร้อยละ ๕๖.๖๗ผู้ปกครองแปรงฟันให้โดยไม่ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ร้อยละ ๑๖.๖๗และผู้ปกครองไม่แปรงฟันให้เด็กร้อยละ ๒๖.๖๖ การป้องกันฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียนต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลานอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับเด็กเกาะจัน Smart kids และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะจัน ได้เป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงานด้านทันตกรรมด้วย ดังนั้น ฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะจัน ได้ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพในช่องปากเด็ก และต้องการดำเนินงานให้ต่อเนื่อง เป็นแหล่งเรียนรู้ของอำเภอมายอต่อไป จึงได้จัดทำโครงการ “หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังให้ทันตสุขศึกษา
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีทัศนคติดีขึ้นหลังจากได้รับทันตสุขศึกษา
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของลูกได้อย่างถูกวิธี
  4. 4.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของลูก
  2. 2.สอนผู้ปกครองแปรงฟันให้ลูกแบบลงมือปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน 150
เครือข่ายอสม. 5
เด็กก่อนวัยเรียน 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เมื่อเสร็จสิ้นโครงการผู้ปกครองเด็กสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและลูก ส่งผลให้เด็กๆชาวตำบลเกาะจันมีสุขภาพช่องปากที่ดี และยังส่งผลไปถึงสุขภาพร่างกายองค์รวมดีขึ้นตามมาด้วย เมื่อสุขภาพช่องปากดี สุขภาพร่างกายดี จึงทำให้เด็กเล็กสามารถเรียนรู้ได้ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของลูก

วันที่ 21 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุม หารือ ร่วมกับอสม.ทันตสุขภาพในการดำเนินกิจกรรม 2.ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก เรื่องโรคฟันผุในเด็ก อาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กและการทำความสะอาดสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครองมีความรู้หลังให้ทันตสุขศึกษา ร้อยละ 80 จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 40 คน (ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 58.33) 2.ผู้ปกครองมีทัศนคติหลังให้ทันตสุขศึกษา ร้อยละ 77.5 จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 40 คน (ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 45 )

 

155 0

2. 2.สอนผู้ปกครองแปรงฟันให้ลูกแบบลงมือปฏิบัติ

วันที่ 21 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สอนผู้ปกครองแปรงฟันให้ลูกแบบรายบุคคลโดยมีอสม.เฝ้าสังเกตการณ์ และประกวดหนูน้อยเกาะจันฟันดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองสามารถเช็ดเหงือกและแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผู้ปกครองมีความรู้หลังให้ทันตสุขศึกษา ร้อยละ 80 จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 40 คน (ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 58.33) 2.ผู้ปกครองมีทัศนคติหลังให้ทันตสุขศึกษา ร้อยละ 77.5 จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 40 คน (ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 45 ) 3.ผู้ปกครองสามารถเช็ดเหงือกและแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังให้ทันตสุขศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็ก อายุ0-3 ปี มีคะแนนความรู้หลังให้ทันตสุขศึกษาได้คะแนน 8 คะแนนขึ้นไปจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
80.00 80.00

ผู้ปกครองมีความรู้หลังให้ทันตสุขศึกษา ร้อยละ 80 จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 40 คน (ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 58.33)

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีทัศนคติดีขึ้นหลังจากได้รับทันตสุขศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีคะแนนทัศนคติหลังให้ทันตสุขศึกษาได้คะแนน 8 คะแนนขึ้นไปจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
80.00 77.50

ผู้ปกครองมีทัศนคติหลังให้ทันตสุขศึกษา ร้อยละ 77.5 จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 40 คน (ก่อนให้ความรู้ ร้อยละ 45 )

3 เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของลูกได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของลูกได้อย่างถูกวิธี
100.00 100.00

ผู้ปกครองสามารถเช็ดเหงือกและแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 100

4 4.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 3 ปีมีฟันดีเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
10.00 31.42

เด็กอายุ 3 ปี ไม่มีฟันผุร้อยละ31.42

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 455 455
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน 150 150
เครือข่ายอสม. 5 5
เด็กก่อนวัยเรียน 150 150

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังให้ทันตสุขศึกษา (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี มีทัศนคติดีขึ้นหลังจากได้รับทันตสุขศึกษา (3) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของลูกได้อย่างถูกวิธี (4) 4.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของลูก (2) 2.สอนผู้ปกครองแปรงฟันให้ลูกแบบลงมือปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ปกครองเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของลูก

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ผู้ปกครองบางรายขาดความตระหนักในการดูแลดูแลสุขภาพช่องปากของลูก

ผู้ปกครองยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพช่องปาก และขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก

กระตุ้นเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกบ่อยๆ และจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้อย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562

รหัสโครงการ 62-L3001-1-06 ระยะเวลาโครงการ 26 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีการติดตามโดยอสม.ทันตสุขภาพ เพื่อติดตามเด็กมารับบริการทาฟลูออไรด์วานิช

มีอสม.ทันตสุขภาพ

อสม.ทันตสุขภาพติดตามการแปรงฟันของผู้ปกครอง จากแบบฟอร์มการติดตาม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

สมุดติดตามการทาฟลุออไรด์วาานิช และแสดงสภาวะช่องปากของลูก

สมุดติดตาม "บัตรประจำตัวหนูน้อยฟันดี"

ใช้สมุดติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามสภาวะสุขภาพของลูก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ใช้บัตรติดตามในการติดตามเด็กมารับบริการ

บัตรติดตามมารับบริการ

ใช้บัตรติดตามเพื่อเป็นแรงจูงใจในการมาร่วมกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ใช้บัตรติดตามในการติดตามเด็กมารับบริการ

บัตรติดตามมารับบริการ

ใช้บัตรติดตามเพื่อเป็นแรงจูงใจในการมาร่วมกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดเครือข่าย อสม.ทันตสุขภาพ ในการติดตามงานด้านทันตฯ

อสม.ทันตสุขภาพ

เป็นเครือข่ายที่เข้มแข็ง สามารถทำงานเชิงรุกได้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของลูกได้

ร้ัอยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้เรื่องการสุขภาพช่องปาก

ส่งเสริมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองควบคู่กัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ผู้ปกครองสามารถเลือกอาหารที่เหมาะสมกับลูก

 

ติดตามพฤติกรรมการเลือกบริโภคอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

ลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านการบริโภคอาหาร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและครอบครัว

 

ขยายโครงการไปยังกลุ่มเป้าหมายอื่นๆต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประสานงานร่วมกับอสม.ในการดำเนินกิจกรรม

มีอสม.เครือข่ายทันตสาธารณสุข

เกิดกระบวนการทำงานที่เข้มแข็งมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการประเมินความรู้และทัศนคติเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง

แบบประเมินความรู้และทัศนคติ

เสริมความรู้ด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีอสม.ทันตสาธารณสุข ซึ่งเป็นบุคลากรในชุมชนมาร่วมระดมความคิด ในการดำเนินกิจกรรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการประสานงานกับอสม.ทันตสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะในการวางแผนงานในการดำเนินกิจกรรมในปีต่อไป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เกิดความภาคภูมิใจที่มีส่วนในการจัดโครงการในครั้งนี้

 

ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจในการทำโครงการในปีต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การทำโครงการมุ่งหวังให้ประชาชนในตำบลมีสุขภาพอนามัยที่ดี เพื่อเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

กิจกรรมมีการสอนการแปรงฟัน ซึ่งสามารถปฏิบัติได้เองที่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

แกนนำอสม.ทันตฯมีการเอื้ออาทรต่อคนในชุมขน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การวางแผนการทำกิกรรมล้วนต้องใช้ฐานปัญญาในการตัดสินใจ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

หนูน้อยเกาะจันฟันดี เริ่มที่พ่อแม่ ปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3001-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาหลา เจ๊ะอูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด