กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ 1.6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านลำกะ
วันที่อนุมัติ 6 ตุลาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 24,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนันทา ด้วงวงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาววิภาดา มณีน้อย
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะ ตำบลชุมพลมีความประสงค์จะจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในปีงบประมาณ ๒๕๖๐โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชุมพลเป็นเงิน ๒๔,๐๐๐ บาท

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำกะได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสมกับโรคเรื้อรังที่เป็นอยู่

 

2 เพื่อให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยง ผู้ดูแลผู้ป่วยและบุคคลในครอบครัวของผู้ป่วยให้มีทัศนคติการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเรื่องการจัดการเกี่ยวสุขภาพของคนในชุมชน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๑. สำรวจข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ๒. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้กับกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยและผู้ดูแลหรือคนในครอบครัวจำนวน ๒๐๐ คน ใช้เวลา ๑ วัน ๓. สาธิตเกี่ยวกับเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้แก่กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย ๔. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติในการบริโภคอาหารได้ดีขึ้น ๒. กลุ่มเสี่ยง ผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ในเรื่องอาหารสุขภาพและโภชนาการได้ดีขั้น ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชน ๔. ลดการป่วยด้วยโรคเรื้อรังและลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังให้น้อยลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2560 14:20 น.