กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพคนนาโต๊ะหมิงสุขภาพช่องปากดี ปี ๒๕๖๒
รหัสโครงการ 62-L1492-01-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง
วันที่อนุมัติ 27 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 มกราคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 44,760.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรภรณ์ รอดคืน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.556,99.527place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มผู้สูงอายุ 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาทางสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาทางสาธารณสุขสำคัญที่ทำลายสุขภาพของประชา ชน โดยโรคในช่องปากที่พบมากและเป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับแรกในทุกกลุ่มวัยคือ โรคฟันผุ ซึ่งเป็นโรคที่ที่พบได้บ่อยประมาณ 80% ของคนทั่วไป สถานการณ์ฟันผุของคนไทยค่อนข้างน่าเป็นห่วง เพราะจากการสำรวจคุณภาพช่องปากของคนไทยเมื่อปี พ.ศ.2550 พบว่าเด็กอายุ 3 ขวบ ประมาณ 66% ฟันเริ่มผุแล้ว คือฟันน้ำนมยังขึ้นมาไม่นานก็เริ่มผุ จากนั้นพอเริ่มโตขึ้นอายุได้ประมาณ 5-6 ขวบ จะพบฟันผุได้มากขึ้นเป็น 82% แต่พอเริ่มโตขึ้นมาหน่อยหรืออยู่ในช่วงวัยรุ่น จำนวนผู้ที่เป็นโรคฟันผุจะลดน้อยลงอย่างมาก เพราะในวัยนี้จะเริ่มมีการใส่ใจไปพบหมอฟันหรือเพื่อดัดฟัน จึงทำให้ใกล้ชิดกับหมอมากขึ้น ส่วนพ่อแม่ก็คอยกระตุ้นเตือนให้แปรงฟันให้สะอาดอยู่บ่อย ๆ แต่ที่น่าตกใจกว่านั้นก็คือในผู้ใหญ่วัยทำงานที่มีอายุ 30 กว่าปีนิด ๆ พบว่าประมาณ 86% มีปัญหาฟันผุกันแทบทั้งนั้น รวมทั้งยังมีปัญหาเรื่องฟันโยก โรคเหงือกร่น ซึ่งเฉลี่ยแล้วสูญเสียฟันไปถึง 4 ซี่ต่อคน และจวบจนย่างเข้าวัยชราหรือเมื่ออายุ 60 ปีขึ้นไป 90% พบว่ามีการสูญเสียฟัน ในบางรายฟันเกือบหมดปาก หากเฉลี่ยแล้วก็ประมาณ 14 ซี่ต่อคน โรคฟันผุเกิดจากการมีเศษอาหารไปค้างอยู่ตามซอกฟัน หรือมีน้ำตาลจากอาหารที่กินค้างคาอยู่ในปากและสัมผัสกับฟันอยู่เป็นเวลานาน จึงทำให้เชื้อแบคทีเรีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อ “Streptococcus mutans” (สเตรปโตคอคคัส มิวแทนส์) ซึ่งเป็นเชื้อที่อยู่บนแผ่นคราบฟัน เกิดกระบวนการย่อยสลายเศษอาหารจำพวกแป้งและน้ำ ตาลให้กลายเป็นกรดแลคติก (Lactic) ที่มีฤทธิ์ในการสลายแร่ธาตุซึ่งเป็นโครงสร้างของฟันจนทำให้ฟันผุกร่อนไปทีละน้อยจาก ชั้นเคลือบฟันภายนอกเข้าไปในเนื้อฟัน จนทะลุถึงชั้นโพรงประสาทฟัน (Pulp)

ซึ่งจะทำให้เกิดอาการปวดฟัน หรือฟันอักเสบเป็นหนอง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิงและกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กา รบริหารส่วนตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง ได้เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของของทุกกลุ่มวัย ในเขตรับผิดชอบตำบลนาโต๊ะหมิง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพคนนาโต๊ะหมิงสุขภาพช่องปากดี ปี 2562 เพื่อลดปัญหาการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดและให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าในการ ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 หญิงตั้งครรภ์ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและได้รับตรวจช่องปากและการดูแ ลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพแก่หญิ งตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง) -ตรวจช่องปากหญิงตั้งครรภ์ ทุกคนเพื่อประเมินสุขภาพช่องปากและติดตามเ ฝ้าระวัง

1.00
2 ผู้ปกครองเด็ก 3-5 ปี มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถู กวิธี

-จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนแก่ผู้ปกครอง เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90

(โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง)

ให้ผู้ปกครองสาธิตการแปรงฟันในลูกตนเอง(โ ดยใช้แบบสังเกตว่าผู้ปกครองทำได้ไหม)

1.00
3 เด็ก 3-5 ปี ทุกคนได้รับตรวจช่องปากและการดูแลเ ฝ้าระวังทันตสุขภาพ

-ตรวจช่องเด็กก่อนวัยเรียนทุกคนเพื่อประเมินสุขภาพช่องปากและติดตามเฝ้าระวัง

1.00
4 เด็กชั้นประถมศึกษา มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาโดยการคัดเลือกนักเรียนระดับปร ะถมศึกษาจำนวน วิธีเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง) -ทดสอบการแปรงฟันเป็นรายคน (โดยใช้แบบสังเกต)

1.00
5 ผู้สูงอายุ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพแก่ผู้สูง อายุ ให้ความรู้อาการของฟันผุแต่ละระยะ เน้นการดูสุขภาพที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง)

1.00
6 หญิงตั้งครรภ์ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและได้รับตรวจช่องปากและการดูแ ลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพแก่หญิ งตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง) -ตรวจช่องปากหญิงตั้งครรภ์ ทุกคนเพื่อประเมินสุขภาพช่องปากและติดตามเ ฝ้าระวัง

1.00
7 ผู้ปกครองเด็ก 3-5 ปี มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

-จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนแก่ผู้ปกครอง เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง) -ให้ผู้ปกครองสาธิตการแปรงฟันในลูกตนเอง(โ ดยใช้แบบสังเกตว่าผู้ปกครองทำได้ไหม)

1.00
8 เด็ก 3-5 ปี ทุกคนได้รับตรวจช่องปากและการดูแลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ

-ตรวจช่องเด็กก่อนวัยเรียนทุกคนเพื่อประเมินสุ ขภาพช่องปากและติดตามเฝ้าระวัง

1.00
9 ผู้สูงอายุ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพแก่ผู้สูง อายุ ให้ความรู้อาการของฟันผุแต่ละระยะ เน้นการดูสุขภาพที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินความรู้ก่อน-หลัง)

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 44,760.00 0 0.00
8 ม.ค. 62 โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพคนนาโต๊ะหมิงสุขภาพช่องปากดี ปี ๒๕๖๒ 0 44,760.00 -
  1. จัดทำแผนงาน โครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง
  2. จัดประชุมคณะทำงานชี้แจงกิจกรรมแต่ละกิจกรรม จำนวน 20 คน
  3. ประสานงานจัดหาวิทยากรจากเครือข่ายทันตสาธารณสุข
  4. จัดหากลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คน 4.1 ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม 5.2 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลสุขภาพช่องปา กที่ถูกวิธี 4.3 ตรวจช่องปากส่งต่อรักษาในรายที่มี ฟันผุ หินปูน 4.4 ทำแบบทดสอบหลังการอบรม 4.5 เฝ้าระวังทันตะสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 4.6 สรุปผลการทำกิจกรรม 5.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนผู้ปกครอง จำนวน 30 คน 5.1 ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม 5.2 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนแก่ผู้ปกครอง จำนวน 30 คน 5.3 สอนการแปรงฟันโดยการปฏิบัติจริง และให้ผู้ปกครองสาธิตการแปรงฟันในลูกตนเอง แลกเปลี่ยนการดูแลสุขภาพช่อง ปากของลูกน้อย 5.4 ทำแบบทดสอบหลังการอบรม 5.5 เฝ้าระวังทันตะสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 5.6 สรุปผลการทำกิจกรรม 6.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน 60 คน

6.1ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม 6.2กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาโดยการคัดเลือก นักเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน 60 คน มาเข้าร่วมกิจกรรม สอนการแปรงฟันที่ถูกวิธีสอนการการแปรงฟันโดยการปฏิบัติจริงส่งต่อรักษาในรายที่มีปั ญหาฟันแท้ผุ 6.3 ทำแบบทดสอบหลังการอบรม 6.4 เฝ้าระวังทันตะสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 6.5 สรุปผลการทำกิจกรรม 7.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน 7.1 ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม 7.2จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้อาการของฟันผุแต่ละระยะ เน้นการดูลสุขภาพที่ถูกวิธีให้คำแนะนำในรายที่มีปัญหา 7.3 ทำแบบทดสอบหลังการอบรม 7.4 เฝ้าระวังทันตะสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 7.5 สรุปผลการทำกิจกรรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 90 หญิงตั้งครรภ์ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีอยู่ในระดับดี และได้รับตรวจช่องปากและการดูแลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ
  2. ร้อยละ 90 ผู้ปกครองเด็ก 3-5 ปี มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีอยู่ในระดับดี
  3. เด็ก 3-5 ปี ทุกคนได้รับตรวจช่องปากและการดูแลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ
  4. ร้อยละ 90 เด็กชั้นประถมศึกษา มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีอยู่ในระดับดี
  5. เด็กชั้นประถมศึกษา ทุกคนได้รับตรวจช่องปากและการดูแลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ
  6. ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีอยู่ในระดับดี
  7. ผู้สูงอายุ ทุกคนได้รับตรวจช่องปากส่งต่อในรายที่มีปัญหาและการดูแลเฝ้าระวังทันตสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ม.ค. 2562 11:05 น.