กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์
รหัสโครงการ 62-L7575-1-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลตะโหมด
วันที่อนุมัติ 29 พฤศจิกายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 มกราคม 2562 - 2 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลตะโหมด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.338,100.097place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 14 ม.ค. 2562 2 ก.ย. 2562 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของประชากร  ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงการเกิดโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จากการขาดธาตุเหล็ก เป็นโลหิตจางที่พบได้บ่อยที่สุด เกือบร้อยละ 80 ในตลอดระยะการตั้งครรภ์ ร่างกายต้องการธาตุเหล็กทั้งสิ้นประมาณ 1 กรัม โดยใช้การสร้างเม็ดเลือดแดงของมารดา ประมาณ 500 มิลลิกรัม สำหรับเด็กในครรภ์และรก ประมาณ 300 มิลลิกรัม และอีก 200 มิลลิกรัม เป็นการสูญเสียตามปกติของร่างกาย ความต้องการธาตุเหล็กที่เพิ่มขึ้นนี้เกือบทั้งหมด เกิดในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ โดยร่างกายต้องการธาตุเหล็กเฉลี่ยวันละ 6-7 มิลลิกรัม ปริมาณธาตุเหล็กที่ได้จากอาหารมีเพียง 1-2 มิลลิกรัมต่อวัน จึงไม่พอเพียง จำเป็นต้องให้ธาตุเหล็กเสริม หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับเหล็กเสริมในรูป iron salt วันละ 30 มิลลิกรัม ( เหล็กในรูปนี้ดูดซึมได้ประมาณร้อยละ 10-20 ) การขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์ เสี่ยงต่อการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ ทารกน้ำหนักตัวแรกคลอดน้อย ทารกตายคลอด รวมถึงผลต่อพัฒนาการและระดับสติปัญญาของเด็กในช่วงเข้าวัยเรียนอีกด้วย
  ในปี 2561 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลแม่ขรีจำนวน 50 คน พบภาวะซีดและน้ำหนักน้อย คิดเป็นร้อยละ 15 ซึ่งส่งผลต่อเด็กมีน้ำหนักน้อยและพัฒนาการช้า โรงพยาบาลตะโหมดเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มารดามีภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยระหว่างตั้งครรภ์

 

0.00
2 เพื่อลดผลกระทบปัญหาเด็กพัฒนาช้า เด็กน้ำหนักน้อย

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,000.00 1 10,000.00
11 ม.ค. 62 - 1 ก.ย. 62 ดูแล เตรียมความพร้อมหญิงตั้งครรภ์ 0 10,000.00 10,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ลดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มารดามีภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยระหว่างตั้งครรภ์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2562 13:09 น.