กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน
รหัสโครงการ 62-L4150-1-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.รพ.สต.ลากอ
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 32,715.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางตอยยีบ๊ะ ลำเดาะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางไอลดา เจ๊ะหะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 235 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน • อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน • อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000 คน • อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไอกรน ไ
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 72 เดือน เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน • อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน • อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000 คน • อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไอกรน ไม่เกิน 0.08 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.25 ต่อ ประชากร 100,000 คน 2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ครอบคลุมร้อยละ 90

.ความครอบคลุมของวัคซีน MMR ในเด็กต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 95 2.ความครอบคลุมของวัคซีน MMR ในเด็ก สองปีครึ่ง ร้อยละ 95                                              3.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 90 4.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ร้อยละ 90 5.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ร้อยละ 90 6.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 90

75.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 32,715.00 0 0.00
??/??/???? โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน 0 32,715.00 -
??/??/???? โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้นำชุมชนมีความกระตือรือร้นและให้ความสำคัญเรื่องวัคซีนของเด็ก 0-5 ปี
  2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีรับวัคซีนตามเกณฑ์
  3. อัตราการมารับบริการวัคซีนเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้น
  4. อัตราการเกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2562 00:00 น.