กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก
รหัสโครงการ 62-3321-1-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.ปันแต
วันที่อนุมัติ 20 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 มิถุนายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,245.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดารุณี มากแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ รพ.สต.ปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2562 30 มิ.ย. 2562 13,245.00
รวมงบประมาณ 13,245.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 396 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1.จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านม จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 0.68 2. จำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.13 3.กลุ่มเป้าหมายสตรีวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปีทั้งหมดจำนวน 886 คน ได้รับการตรวจ Pap smear จำนวน 517 คน คิดเป็นร้อยละ 58.
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก มีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษาพบว่าการคัดกรองด้วยการทำ Pap smearในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐-๖๐ ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2558 สะสมถึงปีงบประมาณ 2561 ซึ่งทางรพ.สต.ปันแต ได้รับ มีกลุ่มเป้าหมายสตรีวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปีทั้งหมดจำนวน 947 คน ได้รับการตรวจ Pap smear  จำนวน 658 คน คิดเป็นร้อยละ 69.48 ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายอีกจำนวน 289 คน ที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่ปี 2558 ทั้งนี้เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธุ์ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจและขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น

ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยร้อยละ 50 ข้อ 2 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ80 ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น ร้อยละ 100

0.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,245.00 1 11,070.00
??/??/???? ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร /ตรวจมะเร็งปากมดลูก 0 13,245.00 11,070.00

2.วิธีดำเนินการ
๑. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อชี้แจงโครงการและค้นหากลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ ๓o –  ๖o ปีที่ยังไม่ได้ตรวจในแต่ละเขตรับผิดชอบเพื่อให้มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 2. ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวของหมู่บ้านโดยผู้นำชุมชน/อสม. 3. ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร/ตรวจมะเร็งปากมดลูก ๔. จัดทำทะเบียนหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o -๖o ปีที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและแจ้งผลการตรวจ ในกรณีที่ผลการตรวจผิดปกติส่งต่อพบแพทย์เพื่อการรักษาต่อไป 3.เป้าหมาย สตรีอายุ ๓o –  ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจ 4.วัตถุประสงค์ 1. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 2.หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก 3.หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น 5.กิจกรรม/งบประมาณที่ใช้จ่าย 13,245 บาท
กิจกรรมหลัก ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร/ตรวจมะเร็งปากมดลูก 1. ค่าอาหารว่าง จำนวน 150 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท 2. ค่าอาหารว่างสำหรับวิทยากร/อสม. จำนวน  26 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท 3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากร/อสม  จำนวน 26 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท 4. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง x 2 คน  300 บาท เป็นเงิน  3,600 บาท 5. Roll Up ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ขนาด 60 ซม. x 160 ซม. จำนวน 3 ป้าย x 1,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 6. ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 290 แผ่นx 0.50บาท เป็นเงิน 145 บาท 7. ค่าถ่ายเอกสารหนังสือแจ้งผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท  เป็นเงิน 75 บาท 8. ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มบันทึกการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 75  บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก
๒. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 50 ๓. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2562 11:15 น.