กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ปี2560
รหัสโครงการ 60-L4117-1-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านคลองน้ำใส
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2560
งบประมาณ 51,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมันโซร์ ดอเลาะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางกัญญาภัคยอดเมฆ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.33,101.023place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคมาลาเรีย ปี 2559 ในประเทศไทย พบผู้ป่วยทั้งหมด 26025 ราย แยกเป็นรายจังหวัดที่มีผู้ป่วยมากที่สุด 5 อันดับอันดับหนึ่ง จ.ตาก อันดับสอง กาญจนบุรีอันดับสาม จังหวัดยะลา อันดับสี่ จ.ศรีสะเกษ และอันดับห้าจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตามลำดับ (กรมควบคุมโรค, 2559) จังหวัดยะลา ปี 2559 มีผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียจำนวนทั้งสิ้น 1223 ราย คิดเป็น 215.60 ต่อแสนประชากร และอำเภอกาบัง พบผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียทั้งสิ้น 399 ราย คิดเป็น 1693.70 ต่อประชากรแสนคน (งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกาบัง, 2559) ซึ่งถือว่าสูงกว่าเกณฑ์ของกรมควบคุมโรคที่กำหนดไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร คิดเป็นหกเท่า ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่เร่งด่วน และจำเป็นต้องดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคอย่างเร่งด่วน
ด้วยเหตุผลดังกล่าว รพ.สต บ้านคลองน้ำใส จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคมาลาเรีย อำเภอกาบัง ปี 2560ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร และเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ให้สามารถดำเนินกิจกรรมควบคุม ป้องกันโรคในพื้นที่ได้ และเพื่อดำเนินการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รณรงค์สร้างกระแสให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรค และเกิดรูปแบบการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียในชุมชนอย่างยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่

อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร.

2 เพื่อลดยุงตัวแก่ที่มีเชื้อมาลาเรีย

ร้อยละของบ้านเรือนในพื้นที่ได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1…กิกรรมเจาะเลือดคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย……. 2…กิจกรรมพ่นสารเคมีตกค้างในชุมชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1…สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อประชากรแสนคน… 2…ครัวเรือนปลอดยุงตัวแก่ที่มีเชื้อมาลาเรีย……………………….

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2560 15:45 น.