กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2562 ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนรารัตน์ สือเเม

ชื่อโครงการ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2562 ถึง 2 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น (2) เพื่อป้องกันโรคมะเร็งองคชาต (3) เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์ (4) เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. กิจกรรมการให้ความรู้ ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจและตั้งใจรับฟังการให้ความรู้การดูเเลสุขภาพเเละป้องกันโรคติดต่อ เเละการดูเเลสุขภาพหลังขลิบ 2. กิจกรรมขลิบ มีผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย จำนวน 3 คน เเละจากการลงพื้นที่เยี่ยม ผู้ที่ได้รับการขลิบนั้นพบว่าทุกคนปลอดภัยแผลแห้งไม่มีการอักเสบหรือติดเชื้อ ผู้ปกครองเเละเด็กสามารถดูเเลแผลหลังการขลิบได้อย่างดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ในการดำเนินโครงการครั้งต่อไปต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองอธิบายให้เด็กเข้าใจถึงการขลิบ เพื่อไม่ได้ให้เด็กเกิดความกลัวเเละเข้าร่วมโครงการ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขลิบ (Circumcision)คือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นการผ่าตัดเล็กที่ทำกันบ่อยมาก จนเกือบถือว่าเป็นเรื่องปกติวิสัย ทั้งนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในบางกลุ่มชนเป็นสิ่งปกติวิสัย เช่น ชาวยิว ที่จะขลิบหนังหุ้มปลายตั้งแต่แรกคลอด และชาวมุสลิมที่ขลิบในวัยเด็ก แต่ในประชาชนทั่วไปมีความเชื่อกันว่าการขลิบหนังหุ้มปลายจะทำให้สามารถดูแลทำความสะอาดได้ดีขึ้น ป้องกันการติดโรคบางชนิด และป้องกันมะเร็ง เป็นต้น ในบทความตามวิชาการแพทย์ที่ได้มีการศึกษาวิจัยในปัจจุบันที่ได้ศึกษาพัฒนาการของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นอวัยวะที่มีอยู่ตามปกติ ปกคลุมส่วนปลายของอวัยวะเพศอยู่ เชื่อกันว่าทำหน้าที่ในการปกป้องส่วนปลายของอวัยวะเพศ และมีหน้าที่ในการรับรู้ความรู้สึกโดยเฉพาะเมื่อมีการกระตุ้นทางเพศ เพราะมีใยประสาทที่มีความไวเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ หลังคลอดหนังหุ้มปลายจะปิดปกคลุมปลายของอวัยวะเพศจนมิด และจะค่อย ๆ เผยออกจนสามารถมองเห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะได้ แต่อย่างไรก็ดีเด็กอายุ 3 ปีจะมีอยู่ประมาณร้อยละ 10 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิด แต่ยังสามารถถ่ายปัสสาวะได้ เมื่อติดตามมาจนกระทั่งอายุ 6 ปี จะมีประมาณร้อยละ 8 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิด  และเหลือเพียงร้อยละ 1 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดจนถึงอายุ 16 ปี ถึงอย่างไรก็ดีเมื่อหนังหุ้มปลายเปิดใหม่ ๆ  จะยังไม่สามารถเปิดได้หมดเพราะยังมีเยื่อบางๆติดยึดอยู่กับปลายอวัยวะเพศ สิ่งที่พบเห็นได้บ่อยๆ ว่าเมื่อเด็กชายถ่ายปัสสาวะจะเห็นหนังหุ้มปลายโป่งพองออกเหมือนลูกโป่ง สิ่งนี้ถือเป็นปรากฏการณ์ปกติ บางครั้งอาจจะเห็นก้อนขาวๆ อยู่ใต้หนังหุ้มปลายก็เกิดจากการลอกตัวของเยื่อบุผิวกับไขมันมาจับตัวเป็นก้อนก็ถือได้ว่าไม่ใช่สิ่งผิดปกติที่น่าตกใจแต่ประการใด     การขลิบหนังหุ้มปลายสามารถป้องกันและลดการแพร่โรคได้ เช่น หูด หงอนไก่ เป็นต้น เพราะหนังหุ้มปลายที่ยาวอาจจะซ่อนรอยโรคเหล่านี้ไว้ นอกจากการขลิบสามารถป้องกันโรคมะเร็งอวัยวะเพศซึ่งจะเห็นได้ว่าชาวมุสลิมมีอัตราการเกิดมะเร็งอวัยวะเพศต่ำมาก (ศาสตราจารย์นายแพทย์วชิรคชการหน่วยศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะภาควิชาศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล 2556) เมื่อไม่นานมานี้ แพทย์ชาวสเปน ได้วิจัยพบว่า ผู้ชายที่ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ นอกจากจะส่งผลดีในการรักษาความสะอาดให้กับตนเองแล้ว ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูกให้กับคู่นอนได้โดย ผลการวิจัยนี้มีการนำไปตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์ นิว อิงแลนด์ งานวิจัยดังกล่าว พบว่า 1. การขลิบช่วยลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็กได้ การศึกษา (meta-analysis ) ปี 1993 มีงานวิจัย 9 เรื่องสรุปว่าช่วยลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และเด็กที่ไม่ขลิบติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้มากกว่าเด็กที่ขลิบ 12 เท่า 2. การขลิบลดการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีงานวิจัย 8 เรื่องรายงานว่า พบว่าการเกิดโรคติดต่อที่มีแผลที่อวัยวะเพศในคนที่ไม่ได้ขลิบมากกว่าคนที่ขลิบถึง 2-7 เท่า (โดยเฉพาะ syphilis และ chancroid) 3. การขลิบมีความสัมพันธ์ช่วยลดการเกิดมะเร็งองคชาติได้ โดยมะเร็งองคชาติลดลงจากการลดลงของการอักเสบที่ปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย 4. การขลิบลดการเกิดโรค HIV (Human immunodeficiency virus)ได้จากการศึกษา (Meta-analysis)ของ Weiss และคณะ พบว่ามีวิจัย 27 เรื่องที่สรุปว่าการขลิบลดการเกิดติดเชื้อเชื้อ HIV 5. การขลิบลดการเกิดโรคติดเชื้อ HPV (Human papillomavirus) ในผู้ชาย และลดมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่เป็นคู่นอนได้ การขลิบหนังหุ้มปลายองคชาติ หรือ Circumcision คือการตัดหนังบริเวณด้านหน้าขององคชาติออก จุดประสงค์คือเพื่อให้สามารถรูดออกทำความสะอาดบริเวณด้านในขององคชาติได้ ซึ่งผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่าขี้เปียก หรือ Smegmaมีลักษณะเป็นขุยขาวๆ คล้ายขี้ไคลขึ้นมาและการที่ไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อเรื้อรัง รวมทั้งอาจก่อให้เกิดโรคร้ายอย่างมะเร็งที่องคชาติได้ และจากการเก็บข้อมูลพบว่าผู้ป่วยมะเร็งองคชาติเกือบทั้งหมด ไม่สามารถรูดหนังออกเพื่อทำความสะอาดได้ ผู้ชายที่เป็นมะเร็งที่องคชาติปัจจุบันพบได้บ้างแต่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่อายุมากกว่า 60 ปี ดูแลสุขอนามัยไม่ค่อยดี และที่สำคัญมักจะหนังหุ้มปลายไม่เปิด ดังนั้น ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดขลิบหนัง หุ้มปลายจึงมีประโยชน์ต่อสุขอนามัยของผู้ชายโดยตรง ส่วนผู้หญิงก็ได้อานิสงส์ได้ความมั่นใจในชายคู่ของเธอคนนั้นมากขึ้นไปด้วย เนื่องจากมีผลการศึกษาออกมาว่าการขลิบลดความเสี่ยงมะเร็งปากมดลูกให้เธอได้ มาดูรายละเอียดของผลการศึกษาของคณะแพทย์สเปนกันบ้างครับ พวกเขาบอกว่าสามีจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคร้ายดังกล่าวให้กับภรรยาได้ ด้วยการขลิบหนังหุ้มปายอวัยวะเพศ ในขณะที่ผู้ชายเองก็จะปลอดจากโรคติดเชื้อที่อวัยวะเพศ โดยการขลิบปลายอวัยวะเพศนั้น ทำให้ผู้ชายมีโอกาสติดเชื้อไวรัสHPV (Human Papilloma Virus) น้อยลง ซึ่งเชื้อไวรัสดังกล่าว คือ เชื้อไวรัสโรคหงอนไก่ นั่นเอง ซึ่งพบว่าการติดเชื้อหงอนไก่นั้น มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปากมดลูกอย่างชัดเจน โดยเชื่อว่าเป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกถึง 99% ในการ ศึกษาข้อมูลนั้น คณะแพทย์สเปนเปิดเผยว่าพวกเขาวิเคราะห์ผลการศึกษา 7 รายการใน 5 ประเทศ 3 ทวีป ซึ่งพบว่าผู้ชายที่ไม่ได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีเชื้อไวรัสเอชพีวี เกือบ 20 % แต่คนที่ขลิบปลายอวัยวะเพศมีไม่ถึง 6 % ที่เป็นเช่นนี้ส่วนหนึ่งก็คือเรื่องของการทำความสะอาดที่ง่ายกว่าในรายที่ทำ การผ่าตัดเปิดหนังหุ้มปลาย สำหรับผู้หญิงนั้นโอกาสที่จะเกิดมะเร็งปากมดลูกจะลดลง 58% หากคู่นอนขลิบปลายอวัยวะเพศแล้ว แม้ว่าผู้ชายคนดังกล่าวมีประวัติว่าผ่านคู่นอนมาหลายคนก็ตาม กรณีนี้จึงมีการคำนวณกันว่าถ้าหากมีผู้ชายขลิบอวัยวะเพศในโลกประมาณ 25% ก็จะช่วยลดการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ 23-40% ขณะเดียวกันก็จะลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งที่อวัยวะเพศชายได้ ลดการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีและอื่นๆ ลงได้อีกด้วย ดังนั้น จะเห็นได้ว่าแม้มะเร็งองคชาติจะพบได้น้อยคือประมาณ 1 ใน 100000 แต่ก็เป็นโรคที่ไม่ควรเสี่ยงเพราะถ้าเป็นแล้วต้องตัดทิ้งอย่างเดียว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น
  2. เพื่อป้องกันโรคมะเร็งองคชาต
  3. เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์
  4. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายสามารถทำความสะอาดอวัยวะเพศง่ายขึ้น
    2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถป้องกันโรคมะเร็งองคชาติ
    3. สามารถระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์ได้
    4. สามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ดได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    -กิจกรรมการให้ความรู้ ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจและตั้งใจรับฟังการให้ความรู้การดูเเลสุขภาพเเละป้องกันโรคติดต่อ เเละการดูเเลสุขภาพหลังขลิบ -กิจกรรมขลิบ มีผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย จำนวน 3 คน เเละจากการลงพื้นที่เยี่ยม ผู้ที่ได้รับการขลิบนั้นพบว่าทุกคนปลอดภัยแผลแห้งไม่มีการอักเสบหรือติดเชื้อ ผู้ปกครองเเละเด็กสามารถดูเเลแผลหลังการขลิบได้อย่างดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น
    ตัวชี้วัด : ทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น
    0.00 0.00

     

    2 เพื่อป้องกันโรคมะเร็งองคชาต
    ตัวชี้วัด : ป้องกันโรคมะเร็งองคชาต
    0.00

     

    3 เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์
    ตัวชี้วัด : ระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์
    0.00

     

    4 เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็ก
    ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็ก
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 30
    กลุ่มวัยทำงาน 0
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้การทำความสะอาดอวัยวะเพศทำได้ง่ายขึ้น (2) เพื่อป้องกันโรคมะเร็งองคชาต (3) เพื่อระงับและป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นจากเพศสัมพันธ์ (4) เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. กิจกรรมการให้ความรู้ ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจและตั้งใจรับฟังการให้ความรู้การดูเเลสุขภาพเเละป้องกันโรคติดต่อ เเละการดูเเลสุขภาพหลังขลิบ 2. กิจกรรมขลิบ มีผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย จำนวน 3 คน เเละจากการลงพื้นที่เยี่ยม ผู้ที่ได้รับการขลิบนั้นพบว่าทุกคนปลอดภัยแผลแห้งไม่มีการอักเสบหรือติดเชื้อ ผู้ปกครองเเละเด็กสามารถดูเเลแผลหลังการขลิบได้อย่างดี

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ในการดำเนินโครงการครั้งต่อไปต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองอธิบายให้เด็กเข้าใจถึงการขลิบ เพื่อไม่ได้ให้เด็กเกิดความกลัวเเละเข้าร่วมโครงการ

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2562

    ระยะเวลาโครงการ 2 เมษายน 2562 - 2 เมษายน 2562

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนรารัตน์ สือเเม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด