กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร ”

หมู่ที่ 4 ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กรกฎาคม 2562 ถึง 29 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กรกฎาคม 2562 - 29 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งตำบลปิยามุมัง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่ 11.17 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,487.50 ไร่ แบ่งเป็น ๕หมู่บ้าน จำนวนประชากร ๓,๖๙๗ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒) ประชากรส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง ประกอบอาชีพด้านการเกษตรกรรม ได้แก่ การทำนาข้าว สวนมะพร้าว สลับกับการปลูกพืชผักระยะสั้น เช่น พริก แตงโม พืชผักสวนครัว เป็นต้น นอกจากนั้นยังประกอบอาชีพรับจ้าง เลี้ยงสัตว์ ค้าขาย รับราชการ และมีบางส่วนไปทำการเกษตรในต่างจังหวัด บางส่วนไปค้าขาย และรับจ้างในต่างประเทศ ฯลฯ จากสถานการณ์ ของชุมชน พบว่า คนในชุมชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนไปจากในอดีตอย่างมาก เนื่องจากเป็นชุมชนที่อยู่ติดกับเขตเมืองและคนในชุมชนยุคปัจจุบันมีการประกอบอาชีพรับจ้างเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งต่างจากในอดีตที่มีอาชีพทำการเกษตรเป็นหลัก จึงทำให้ไม่ค่อยมีเวลาประกอบอาหารกินเอง จึงซื้ออาหารถุงมาบริโภคและซื้อผักและผลไม้ต่างๆ มาบริโภคโดยไม่ได้ปลูกไว้กินเองเหมือนเมื่อก่อน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันที่สูงขึ้น จึงทำให้พฤติกรรมการบริโภคของคนในชุมชนแปรเปลี่ยนไป ทำให้สภาพร่างกายได้รับสารเคมีมากเกินกำหนดซึ่งก่อให้เกิดภาวะโรคเรื้อรังต่างๆ ตามมา เช่น เบาหวาน หัวใจ ความดัน มะเร็งต่างๆ ซึ่งกว่าจะรู้ตัวก็มักจะเป็นระยะที่ยากต่อการรักษาเยียวยา นอกจากนั้นยังพบว่าสภาพทางสังคม ก็เปลี่ยนไปจากเดิมที่เป็นสังคมที่อยู่รวมกันเป็นครอบครัวใหญ่ มีจิตใจโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความรักความสามัคคีในชุมชน แต่ในปัจจุบันสภาพสังคมเปลี่ยนไปเป็นสังคมเมือง ขาดความมีน้ำใจ เกิดความแตกแยกในชุมชนแบ่งพรรคแบ่งฝ่าย เห็นแก่ตัว เอารัดเอาเปรียบ ซึ่งส่งผลต่อสภาพจิตใจ เนื่องจากสุขภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรง เป็นโรคง่าย และเกิดภาวะเครียดเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ทำให้ชาวบ้านได้ทราบถึงปัญหาในด้านต่างๆ ของชุมชน และทำให้ทุกคนตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนร่วมกันในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยเลือกประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีที่มาจากพฤติกรรมการบริโภค และสุขภาพของคนในชุมชน โดยเลือกทำ “สุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร” เพื่อให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภค ลด-ละสารเคมีให้น้อยลงและหมดไปในที่สุด โดยให้คนในชุมชนหันกลับมาทำเกษตรอินทรีย์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การปลูกผักกินเอง การทำนาข้าวอินทรีย์ และการเลี้ยงสัตว์ (ปลาน้ำจืดและสัตว์ปีก) ซึ่งทุนที่มีอยู่ในชุมชนอยู่แล้วคือ โครงการฟาร์มตัวอย่าง ฯ  กลุ่มองค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มจิตอาสา อสม กลุ่มสภาเด็กและเยาวชน แนวทางในการจัดการปัญหานั้น ชุมชนมีแกนนำและอาสาสมัครแนะนำ ชักชวนให้คนในชุมชนได้รับทราบถึงโทษของการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีตกค้าง และประโยชน์ของอาหารที่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชน และที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งคือ คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองอย่างจริงจัง และตั้งใจเพื่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม โดยหันกลับมาใช้วิถีชีวิตแบบเกษตรอินทรีย์ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบค่อยเป็นค่อยไป ค่อยๆลดการใช้สารเคมีและแทนที่ด้วยปุ๋ยอินทรีย์ จนในที่สุดการใช้สารเคมีก็จะหมดไปในอนาคตซึ่งจะทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์ปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในชุมชน 2.การแก้ไขปัญหาสารเคมีเกษตรที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ๓ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
  2. เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
  3. ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเกิดแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์เพื่ออาหารสุขภาวะ
  2. กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย
  3. อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ จัดหาวัตถุดิบสนับสนุนให้แต่ละครัวเรือนดำเนินการทำการเกษตรอินทรีย์
  4. กิจกรรม การประเมินภาวะสุขภาพ กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค 2.ช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและขจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่านี้ด้วย 3.ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช 4.ลดปริมาณสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ที่ปนเปื้อนในอากาศและน้ำ ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดล้อมได้ทางหนึ่ง ผักปลอดสารพิษ ให้ประโยชน์ตั้งแต่ผู้ปลูกเองไปจนถึงผู้บริโภค ช่วยให้สุขภาพดี ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม การประเมินภาวะสุขภาพ กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 29 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม การประเมินภาวะสุขภาพ  (ไม่ใช้งบประมาณ)
        รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ         จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย  กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกองค์กรภาคประชาชน กลุ่ม นักเรียนโรงเรียนบ้านตาหมน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค 2.ช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและขจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่านี้ด้วย 3.ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช 4.ลดปริมาณสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ที่ปนเปื้อนในอากาศและน้ำ ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดล้อมได้ทางหนึ่ง ผักปลอดสารพิษ ให้ประโยชน์ตั้งแต่ผู้ปลูกเองไปจนถึงผู้บริโภค ช่วยให้สุขภาพดี ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์ปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในชุมชน 2.การแก้ไขปัญหาสารเคมีเกษตรที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ๓ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : การติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์เพื่อสุขภาพ โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะองค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง ติดตามผลการทำการเกษตรปลอดสารและมีการสำรวจการประเมินโดยการสัมภาษณ์ และสอบถาม ซึ่งผลจากการทำโครงการนี้ยังสามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เพื่อเป็นตัวอย่างในการดำเนินกิจกรรมให้แก่หมู่บ้านอื่นๆต่อไป
80.00 150.00

 

2 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น
90.00 0.00 150.00

 

3 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 100 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์ปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในชุมชน 2.การแก้ไขปัญหาสารเคมีเกษตรที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ            ๓  เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม (2) เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (3) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเกิดแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์เพื่ออาหารสุขภาวะ (2) กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย (3) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ จัดหาวัตถุดิบสนับสนุนให้แต่ละครัวเรือนดำเนินการทำการเกษตรอินทรีย์ (4) กิจกรรม การประเมินภาวะสุขภาพ  กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ          จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร

ระยะเวลาโครงการ 29 กรกฎาคม 2562 - 29 กรกฎาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มุ่งไปสู่การทำเกษตรที่ดี มีคุณภาพ ปลอดภัยไร้สารพิษ หรือเกษตรอินทรีย์ รวมถึงการแปรรูปให้หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตัวเกษตรกร

การผลิตปุ๋ยใช้เอง

ขยายผลให้เกษตรกรทุกหมู่ สร้างอาชีพเสริมด้วยการ “ปลูกผักปลอดสารเคมี” ควบคู่กับการทำนา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ปลูกผักปลอดสารเคมี” ควบคู่กับการทำนา แปลงผักปลอดสาร ปลูกหมุนเวียนตามฤดู

อาชีพและรายได้ของเกษตรกร

ขายผลให้ครบทุกหมู่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ลด ละ เลิกการใช้สารเคมี และสร้างอาชีพเสริมด้วยการ “ปลูกผักปลอดสารเคมี” ควบคู่กับการทำนา

อาชีพและรายได้

ขยายให้ครบทุกหมู่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

แปลงผักปลอดสาร ปลูกหมุนเวียนตามฤดู สร้างรายได้

แปลงผักปลอดสาร

ขยายผลครบทุกหมู่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ใช้สารเคมีให้น้อยที่สุดเท่าที่จำเป็นเท่านั้น  และหันมาใช้วิธีการอื่นๆทดแทน  เช่น สมุนไพร  สารชีวภาพ

ใช้สารลดลง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เมื่อไม่ใช้สารเคมี การบริโภคก็จะลดน้อยลงเรื่อยๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

เป็นวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพที่มีความหลากหลายและแตกต่างกันไปในสังคมไทย

สุขภาพของเกษตรกรดีขึ้น จำนวนผู้ป่วยลดลง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ดูแลสุขภาพในแบบภูมิปัญญาชาวบ้านสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

สุขภาพของเกษตรกรดีขึ้น จำนวนผู้ป่วยลดลง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

เข้าถึงการเป็นอยู่ได้อย่างพอเพียงและปลอดภัย เพราะนี่เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนพึงได้รับ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

สามารถนำผักปลอดสารมาจำหน่ายได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

อาจเป็นการพูดคุยหรือการทำสัญญาในกลุ่มว่าจะไม่ใช้สารเคมี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดแถลงข่าวสนับสนุนการยกเลิกใช้สารเคมีเกษตร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสุขภาวะเกษตรกร ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด