กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิชาญ เกตุแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5246-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5246-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัยหาเกี่ยวกับโรคติดต่อซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรคอย่างโรคไข้เลือดออก หรือโรคติดต่ออื่น เช่น ชิกุนคุนย่า ยังคงเป็นปัยหาที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่ ต. ท่าโพธิ์ เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีน้ำท่วมขังและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้ง่าย และพบว่าประชาชนป่วยด้วยดรคไข้เลือดออกหลายราย และยังคงมีแนวโน้มระบาดและเกิดโรคซ้ำในพื้นที่เดิมอย่างต่อเนื่อง กลุ่ม อสม.จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อดำเนินการกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่ออื่น
  2. เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,787
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุมยุงลายหรือแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 2.สามารถป้องกันและลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกหรือติดต่ออื่น เช่น ชิกุนคุนย่าในพื้นที่ 3.ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

วันที่ 4 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

4/7/62-17/8/62 พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายปูพรมและบริเวณพื้นที่เกิดโรคในรัศมี 100 เมตร

 

5,787 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่ออื่น
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่ออื่น
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
0.00

 

3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5787
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,787
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่ออื่น (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้และมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกหรือโรคติดต่ออื่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562

รหัสโครงการ 62-L5246-2-02 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีความระมัดระวังตนเองไม่ไปอยู่ในสาถานที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำสมุนไพรในท้องที่มาประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันยุงกัด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -ไปพบแพทย์เมื่อมีอาการป่วย หรือสงสัยว่าป่วยด้วยโรคระบาด -มีการประเมินตนเองเกี่ยวกับอาการป่วยของโรคก่อนไปพบแพทย์ -มีการรักษาความสะอาดของครัวเรือน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณบ้านและรอบๆบริเวณบ้าน การจัดการครอบครัว -เมื่อมีคนในครอบครัวเจ็บป่วยจะพาไปพบแพทย์ทันที และคนในครอบครัวจะต้องระมัดระวังในการป้องกันโรคมากขึ้น - เมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วย มักจะเกิดความวิตกกังวล รู้สึกไม่อยากให้มีอาการป่วยซ้ำๆเกิดขึ้นกับคนในครอบครัวอีก การจัดการชุมชน -มีการส่งต่อความรู้การป้องกันโรคจากปากต่อปาก และเกิดการสร้างความเข้าใจโรคของคนในชุมชน -มีการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธาณะให้สะอาด ปลอดขยะ -เกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตความเชื่อแบบโบราณที่เชื่อว่าสามารถการป้องกันโรคได้หมดไป เช่นความเชื่อเกี่ยวกับการก่อกองไฟไล่ยุง -มีการรวบรวมขยะมูลฝอยทั่วไปไว้ในถังขยะ หรือจุดรวบรวมขยะ เพื่อให้ อปท.ทำการเก็บขนไปทำลายอย่างถูกวิธี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-มีการรณรงค์แจกจ่ายถุงขยะเพื่อกำจัดขยะในแต่ละครัวเรือน -มีการคัดแยกขยะ และนำขยะรีไซเคิลที่สามารถจำหน่ายได้ไปจำหน่ายเพื่อนำรายได้เข้าสู่บัญชีกองทุนชุมชน -มีการจัดการวิ่งแวดล้อมในบริเวณบ้านและรอบบ้านให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-เกิดความระมัดระวังในการเกิดโรคมากขึ้น ส่งผลให้มีความปลอดภัยจากการเกิดโรคของคนในชุมชน -มีการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาในพื้นที่เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย -มีการนำหลักศานนามาปรับใช้เพื่อให้คนในชุมชนปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากโรค

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีการนำขยะที่ได้จากการคัดแยกขยะ มาประยุกต์ทำให้เกิดสินค้าเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

เป็นลักษณะของการขอความร่วมมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

เป็นลักษณะของการขอความร่วมมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

เป็นลักษณะของการขอความร่วมมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-ข้อบัญญัติของ อปท.ด้านการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล -ข้อบังคับการห้ามทิ้งขยะในพื้นที่สาธารณะ

ข้อบัญญัติ อปท. ป้ายประชาสัมพันธ์

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการประสานงานกันในกลุ่มเครือข่ายในชุมชน เช่น กลุ่มอสม. รพ.สต.

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-มีการจัดประชุมประชาคม เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรค - มีการวางแผนเพื่อแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ตามความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคล -มีการดำเนินการตามแผนที่วางไว้จากการระดมความคิดในการทำประชาคม -มีการติดตามผลการดำเนินโครงการโดยการสอบถามประชาชนในชุมชน -มีการประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ และความพึงพอใจของชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-มีการใช้งบประมาณจากกลุ่มออมทรัพย์หมู่บ้านมาสมทบในงบประมาณโครงการเพื่อดำเนินการควบคุมโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินโครงการเพื่อควบคุมโรคต่อเนื่องทุกปี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-มีวิธีคิดในการตัดสินใจด้านการจัดการปัญหาการแพร่ระบาดของโรคและการควบคุมโรค -มีการนำข้อมูลสุขภาพมาจัดทำแผนงาน และเขียนโครงการเพื่อป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-รู้สึกภูมิในตนเองที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการทำให้ชุมชนปลอดภัยจากโรคระบาด -รู้สึกภูมิใจในองค์กรที่ได้ขยายการดำเนินโครงการไปยังกลุ่มอื่นๆให้เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนฯในด้านการป้องกันและควบคุมโรคมากขึ้น -รู้สึกภาคภูมิใจในชุมชนที่ประชาชนให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

นอกเหนือจากการปฏิบัติตนให้ตนเองและคนในครอบครัวปลอดภัยจากการเกิดโรคแล้ว ยังมีการทำเพื่อส่วนรวมให้ปลอดภัยจากโรคด้วยเช่นกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย แต่เกิดความตระหนักในการระมัดระวังตนเองให้ปลอดภัยจากการเกิดโรคมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-มีการดูแล ให้คำแนะนำผู้อื่นในด้านการป้องกันโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการนำข้อมูลต่างๆ รวมถึงด้านช่วงเวลาของการแพร่ระบาดของโรค มาวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดโรค และวางแผนดำเนินโครงการ

ด้านช่วงเวลาของการแพร่ระบาดของโรค มาวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดโรค และวางแผนดำเนินโครงการ

รายละเอียดโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5246-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชาญ เกตุแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด