กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยารียะ หะยีสะอะ

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-PKL-02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2562 ถึง 17 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-PKL-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2562 - 17 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก การแจ้งเกิด ก็จะส่งผลต่ออนาคตเด็ก ภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90 จากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเขตตำบลปากล่อ ยังมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด สามารถวิเคราะห์สาเหตุที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองขาดความตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญของการแจ้งเกิด การรับวัคซีน นำเด็กมาฉีดวัคซีนช้ากว่ากำหนด จึงทำให้เข็มต่อไปช้าไปด้วย ผู้ปกครองกลัวว่าเด็กจะเป็นไข้ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเนื่องจากต้องทำงาน เด็กต้องตามผู้ปกครองไปทำงานต่างถิ่น/ต่างประเทศ เด็กไม่อยู่ในพื้นที่และไม่สามารถติดตามให้เด็กมารับบริการฉีดวัคซีนได้ เป็นต้น โดยเฉพาะหมู่ที่ 2, 8และ 4 มีพื้นที่กว้างและประชากรมีจำนวนมาก มากกว่าหมู่บ้านอื่น ๆ จึงมีผลกระทบทำให้เด็กไม่มารับบริการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์จากปัญหาดังกล่าว ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องให้ความรู้ คำแนะนำ แก่บิดา มารดา และครอบครัว ก่อนคลอด ให้เห็นถึงความสำคัญของการแจ้งเกิด การได้รับวัคซีนตามวัย จากเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้น อสม.ตำบลปากล่อ ได้เล็งเห็นปัญหา จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่ต้องมีการรณรงค์ให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ต้องได้รับการติดตาม เพื่อให้ได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ เพื่อลดอัตราการไม่ได้แจ้งเกิด การป่วยเป็นโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. 2.เพื่อให้คนท้องหลังคลอดมีความรู้สามารถแจ้งเกิดเพื่อเข้าสู่กระบวนการนัดวัคซีนได้อย่างเป็นระบบ
  3. 3.เพื่อให้เด็ก 0-5ปี ได้รับบริการวัคซีนครอบคลุมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันตามระยะเวลา
  4. 4.ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5ปี
  2. กิจกรรมอบรมแกนนำติดตามวัคซีนและคนท้อง
  3. กิจกรรมติดตามทุกอังคารที่ 2,3ของเดือนจำนวน 14ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กมีสุขภาพดีไร้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2.เด็กได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง 3.เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพเด็กในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมติดตามทุกอังคารที่ 2,3ของเดือนจำนวน 14ครั้ง

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.แจ้งรายชื่อเด็กที่มารับบริการวัคซีนก่อนหลัง 1 อาทิตย์ เพื่อติดตาม 2.ลงติดตามกรณีไม่ได้มารับบริการเพื่อรับทราบปัญหา พร้อมลงดำเนินการให้บริการวัคซีน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่มีเด็กแรกคลอดที่ไม่ได้แจ้งเกิด จำนวนเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนส่วนใหญ่จะไม่สบาย อยู่นอกพื้นที่และช่วงเวลานัดตรงกับวันหยุดจึงมีการเลื่อนออกไป

 

10 0

2. กิจกรรมอบรมแกนนำติดตามวัคซีนและคนท้อง

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งเชิญกลุ่มเป้าหมาย วิทยากร จัดอบรมให้ความรู้แกนนำอสม.และคนท้อง พร้อมติดตามประมวลผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรม32 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบวัคซีนหลังให้ความรู้352 คะแนน คิดเป็นร้อยละ59.09  จากคะแนนทั้งหมดซึ่งถือว่าน้อย ซึ่งจากการสรุปข้อสอบ คนท้องและแกนนำยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง 1.การแจ้งเกิดเมื่อมีคนเกิดในบ้าน ต้องแจ้งภายใน 15 วัน ข้อ 1 ตอบได้ 0 คะแนน 2.เด็กที่ไม่มีสัญชาติไทยจะแจ้งเกิดและออกสูติบัติให้ได้หรือไม่ในข้อ 2 ตอบได้ 1 คนคิดเป็น2.90 จากผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 3.การคลอดบุตรเมื่อคลอดนอกพื้นที่ในข้อ 3 คิดเป็น 2.90 จากจำควนผู้เข้าอบรมทั้งหมด 4.การลงทะเบียนที่เกี่ยวข้องกับเด็กภายหลังแจ้งเกิดในข้อ10 ว่าต้องรับอะไรบ้างและนำไปดำเนินการเข้าสู่ระบบวัคซีนมีอะไรบ้าง ตอบได้เป็น 0 คะแนน

 

30 0

3. กิจกรรมอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5ปี

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งเชิญกลุ่มเป็าหมายและวิทยากรเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพร้อมปฏิบัติจริง พร้อมติดตามประมวลผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ปกครองสามารถปฎิบัติการดูแลบุตรหลานหลังให้บริการวัคซีนได้
  • เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ อัตราการป่วยผลข้างเคียงลดน้อยลง
  • ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนช่วยในการติดตามกระตุ้นผู้ที่ไม่รับบริการวัคซีนโดยการร่วมพูดคุยกับผู้ปกครองที่ไม่ยินยอม ให้มารับบริการวัคซีน

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปกิจกรรมอบรมคนท้องเรื่องการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบวัคซีน

กิจกรรมที่1 การอบรมสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีมีผู้ปกครองให้ความสนใจเป็นอย่างมาก กิจกรรมที่2 ผู้เข้าอบรมทั้งหมด 32 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบวัคซีน น้อย หลังวิทยากรให้ความรู้คะแนนที่ได้ทั้งหมด 352 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 59.09 จากคะแนนทั้งหมดซึ่งถือว่าน้อย

ผลงานปี62 .1.เด็ก 0-5 ปี ได้ความครอบคลุมบริการวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันครบตามเกณฑ์มี 37 คน คิดเป็นร้อยละ 63.79   จากเด็กทั้งหมด 58 คน
      2. ผู้ปกครองเด็กและผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในการดูแลบุตรหลานหลังรับวัคซีนเพิ่มมากขึ้น และให้ความสำคัญ       กับประโยชน์ของวัคซีนมากขึ้นโดยมีเด็กที่หลุดจากการรับวัคซีน หรือ ปฏิเสธการรับวัคซีน กลับมารับบริการ เพิ่มขึ้น       3. แกนนำผู้ติดตามมีความรู้มีความมั่นใจในการติดตามเด็กมารับบริการวัคซีนเพิ่มมากขึ้น กล้าพูดตอบคำถามอธิบาย ให้ผู้ปกครองรับทราบข้อสงสัยได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากวัคซีน เด็กไม่มีอาการป่วยและภาวะแทรกซ้อนหลังมารับบริการวัคซีน
0.00

 

2 2.เพื่อให้คนท้องหลังคลอดมีความรู้สามารถแจ้งเกิดเพื่อเข้าสู่กระบวนการนัดวัคซีนได้อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : แกนนำและคนท้องเข้าใจถึงระบบการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบบริการวัคซีนไม่มีเด็กที่ไม่ได้แจ้งเกิด จากการทำข้อสอบความรู้คะแนนทั้งหมด352 คะแนน คิดเป็นร้อยละ59.09 ถือว่าต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ70
0.00

 

3 3.เพื่อให้เด็ก 0-5ปี ได้รับบริการวัคซีนครอบคลุมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันตามระยะเวลา
ตัวชี้วัด : เด็ก 0- 5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มี 37 คนคิดเป็นร้อยละ 63.79
0.00

 

4 4.ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครองได้
ตัวชี้วัด : ทีมติดตามสามารถให้ความรู้แก่ผู้ปกครองจนมีผู้ปกครองนำบุตรที่ไม่เคยรับวัคซีนกลับเข้ามาในระบบ ทีมติดตามวัคซีนสามารถรู้ระบบขั้นตอนการประสานงานกับเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานเมื่อพบเจอปัญหา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5ปี ได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) 2.เพื่อให้คนท้องหลังคลอดมีความรู้สามารถแจ้งเกิดเพื่อเข้าสู่กระบวนการนัดวัคซีนได้อย่างเป็นระบบ (3) 3.เพื่อให้เด็ก 0-5ปี ได้รับบริการวัคซีนครอบคลุมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันตามระยะเวลา (4) 4.ทีมติดตามมีความรู้ มั่นใจในการให้ความรู้และตอบคำถามผู้ปกครองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก 0-5ปี (2) กิจกรรมอบรมแกนนำติดตามวัคซีนและคนท้อง (3) กิจกรรมติดตามทุกอังคารที่ 2,3ของเดือนจำนวน            14ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

รหัสโครงการ 62-PKL-02-08 ระยะเวลาโครงการ 4 มีนาคม 2562 - 17 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรู้เท่าทันโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-PKL-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยารียะ หะยีสะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด