กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา บุญเจริญ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน

ชื่อโครงการ โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 1 - 03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 – L7452 – 1 - 03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,975.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมบริโภคของประชาชนจากการปรุงอาหารรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการบริโภคอาหารนอกบ้านมากขึ้น ฉะนั้น ประชาชนจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด จากการสัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องในระหว่างเตรียม - ปรุง - ประกอบอาหาร ซึ่งจะทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคลงสู่อาหารได้ การพัฒนางานด้านสาธารณสุข ของเทศบาลนครยะลา เน้นการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคเป็นหลัก ให้ความสำคัญของการเป็นเมืองอาหารสะอาด ปราศจากการปนเปื้อนเชื้อโรคในอาหาร ด้วยการพัฒนาร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร จากข้อมูลการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการด้านอาหาร ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ประจำปีงบประมาณ 2561 ของเทศบาลนครยะลา พบว่า มีร้านจำหน่ายอาหารทั้งหมด 855 ร้าน แยกเป็น ร้านอาหารจำนวน 459 ร้าน แผงลอยจำหน่ายอาหารในจุดผ่อนผัน จำนวน 355 ร้าน และแผงจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จในตลาดสด จำนวน 41 ร้าน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร คิดเป็นร้อยละ 80 (367 ร้าน), 65 (229 ร้าน) และ 100 (41 ร้าน) ตามลำดับ ผลการตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารด้านเคมี (สารเคมีปนเปื้อน 4 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน ฟอกขาว และสารกันรา) จำนวน 448 ตัวอย่าง พบว่าตัวอย่างที่นำมาทดสอบปราศจากการปนเปื้อนทั้งหมด (คิดเป็น 100%)สำหรับด้านชีวภาพ (เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในภาชนะ/อาหาร/มือ) จากการสุ่มจำนวน 1,329 ตัวอย่าง พบว่า ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 67 (890 ตัวอย่าง) และไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 33 (439 ตัวอย่าง) นอกจากนี้ ในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา พบว่า มีสถานประกอบการที่ผ่านการอบรมเพียง จำนวน 250 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.24 ซึ่งผู้ประกอบการหรือผู้สัมผัสอาหารในกิจการด้านอาหารดังกล่าว เป็นบุคคลสำคัญในการจัดหา ประกอบ ปรุงอาหาร และให้บริการแก่ผู้บริโภค จำเป็นต้องผ่านการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารทุก ๆ 3 ปี เพื่อให้ผู้ประกอบการดังกล่าวมีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ลดการแพร่กระจายของเชื้อโรคต่าง ๆ ไปสู่ผู้บริโภคได้ จึงต้องมีการอบรมเพิ่มความรู้อีกจำนวนมาก เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารจากร้านที่ผู้ประกอบการมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร และมีการพัฒนาร้านให้ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ดังนั้น จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าว ฝ่ายส่งเสริมสิ่งแวดล้อม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ตะหนักถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการอบรมการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562 ขึ้น เพื่อให้ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร มีสุขวิทยาส่วนบุคคลที่ดี ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา พื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงนักท่องเที่ยวได้รับการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากสถานประกอบกิจการที่ได้มาตรฐานต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร
  2. 2. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปฏิบัติตามเทศบัญญัติเทศบาลนครยะลา และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้อย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯ เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 23 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร เป้าหมาย สำหรับผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร 2.1 จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 คน 1. จุดผ่อนผันหลังโรงเรียนนิบงฯ 2. จุดผ่อนผันสะพานดำ 3. จุดผ่อนผันสน
  3. กิจกรรมที่ 2 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร 2.2 ร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 คน
  4. กิจกรรมที่ 3 การจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร เป้าหมาย ผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ณ จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 ร้าน และร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 ร้าน
  5. กิจกรรมที่ 4 การตรวจประเมินร้าน/แผงจำหน่ายอาหารในจุดผ่อนผัน ภายใต้สโลแกน “สะอาด ปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค” เป้าหมาย ผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ณ จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 ร้าน และร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 ร้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการสามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง - ประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
  3. ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี (มีอายุยืน)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปฏิบัติตามเทศบัญญัติเทศบาลนครยะลา และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของร้านที่เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
0.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 3. ผลคะแนนรวมการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 80 4. ตัวอย่างอาหารที่สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี (สารเคมีปนเปื้อน 4 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน ฟอกขาว และสารกันรา) 5. ตัวอย่างที่สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนด้านชีวภาพ (เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในภาชนะ/อาหาร/มือ) 6. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร (2) 2. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปฏิบัติตามเทศบัญญัติเทศบาลนครยะลา และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯ  เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน  23 คน (2) กิจกรรมที่ 2 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร เป้าหมาย สำหรับผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร      2.1 จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 คน                      1. จุดผ่อนผันหลังโรงเรียนนิบงฯ            2. จุดผ่อนผันสะพานดำ          3. จุดผ่อนผันสน (3) กิจกรรมที่ 2 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร  2.2 ร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 คน (4) กิจกรรมที่ 3 การจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร เป้าหมาย ผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ณ จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 ร้าน และร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 ร้าน (5) กิจกรรมที่ 4 การตรวจประเมินร้าน/แผงจำหน่ายอาหารในจุดผ่อนผัน ภายใต้สโลแกน “สะอาด ปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค”  เป้าหมาย ผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ณ จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 ร้าน และร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 ร้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 1 - 03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิตยา บุญเจริญ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด