กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
รหัสโครงการ 62-L8411-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 12,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมารียะ สาเมาะแม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.355399858,101.3271073place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่า ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากสารเคมีปนเปื้อนในสภาพแวดล้อม และแหล่งน้ำ ส่งผลต่อความปลอดภัยด้านสุขภาพ หากได้รับสารเคมีเข้าไปในร่างกายในปริมาณมากๆ จะเห็นได้จากประชาชนในระดับครัวเรือน หรือเกษตรได้เริ่มมาให้ความสำคัญกับการดำรงชีวิตที่เป็นที่มิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำน้ำหมักชีวภาพกำลังเป็นที่สนใจของประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทำในระดับครัวเรือนหรทอชุมชนที่สนใจ แต่ยังไม่แพร่หลาย เนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ในเรื่องกระบวนการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษาและการตรวจคุณภาพ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการทำน้ำหมักชีวภาพ ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จึงมีแนวคิดที่จะนำวัสดุที่เหลือใช้จากเศษอาหาร เปลือกผลไม้ เช่น เปลือกส้ม เปลือกสัปปะรด เปลือกมังคุค แตงโมและเศษผักต่างๆ นำมาผลิตเป็นน้ำหมักชีวภาพ อีกทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย แก้ไขปัญหาขยะอินทรีย์ที่ส่งกลิ่งเหม็น เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี การเอาจุลินทรีย์ EM มาช่วยในการเร่งปฏิกิริยาย่อยสลายผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เหลือใช้เป็นน้ำจุลินทรีย์ หรือน้ำหมักชีวภาพ เพื่อไปทำการล้างท่อลดปัญหาการส่งกลิ่นเหม็นทดแทนการใช้สารเคมี ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบกับนโยบายระดับชาติที่มุ่งเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม และลดปัญหาขยะในครัวเรือน ให้ผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ใส่ใจผู้บริโภคมากขึ้น จึงหันมาใช้สิ่งต่างๆในธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัวมาทดลอง และประยุกต์ใช้ประโยชน์มากขึ้น จึงได้จัดทำโครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์

 

0.00
2 เพื่อนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพ

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ มีความรู้ความเข้าใจในการทำหน้ำหมักชีวภาพ

 

0.00
4 เพื่อลดปัญหามลพิษ และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,400.00 1 12,100.00
1 มี.ค. 62 - 30 ส.ค. 62 อบรมให้ความรู้และสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพ 0 12,400.00 12,100.00
  1. เสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ       2. ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง       3. ประชาสัมพันธ์โครงการ       4. กิจกรรมที่ดำเนินการ         - มีการอบรมให้ความรู้และสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพให้แก่ ประชาชน อสม. ผู้ประกอบการร้านค้า ในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะทั้ง 10 หมู่บ้านๆละ 5 คน รวมทั้งหมด 50 คน ณ    ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ
    1. ประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ปริมาณขยะในครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพ       2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ       3. ลดปัญหามลพิษ และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 เม.ย. 2562 10:32 น.