กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮัซวานี อาบูวะ เลขานุการศูนย์เพื่อนใจ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ชื่อโครงการ โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชน คือ อนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชนหลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราว และการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ปี2561 สถิติการจับกุมคดียาเสพติดและตัวยายาเสพติดในพื้นที่จังหวัดยะลาพบว่าพืชกระท่อมจับกุมได้ 1,484 คดี ยาบ้า 979 คดี ไอซ์157 คดี พื้นที่ค้าและแพร่ระบาดยาเสพติดหลัก 3 อันดับได้แก่ อำเภอเมืองยะลาร้อย 26.52 อำเภอเบตงร้อยละ 21.66 อำเภอรามันร้อยละ 14.30 จังหวัดยะลามีผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดเป็นอันดับที่ 5 ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งจะมีช่วงอายุระหว่าง 20-24 ปี และอาชีพรับจ้าง ส่วนใหญ่จะเข้ารับการบำบัดในระบบสมัครใจ กลุ่มผู้เกี่ยวข้องยาเสพติดรายใหม่ยังคงเป็นปัญหาหลักในอนาคต ซึ่งพบว่ามีสัดส่วนสูงทั้งในกลุ่ม ผู้ค้าและกลุ่มผู้เสพ กลุ่มเยาวชนอายุ ๑๕-๒๔ปีถือเป็นกลุ่มหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งพบทั้งที่อยู่ใน สถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยกลุ่มนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับประถมศึกษา กลุ่มที่มีโอกาสเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ซึ่งหากสามารถผลักดันให้นักเรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น เรียนต่อถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้จะทำให้อัตราการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดลดลงและควรมีการป้องกันตั้งแต่แรก (สำนักงานคณะกรรมการและปราบรามยาเสพติด (ปปส.)
จากผลกระทบดังกล่าว มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด โดยให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างเจตคติ มีทักษะปฏิเสธให้นักเรียน ตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด ลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สร้างเกราะป้องกันเรื่องยาเสพติดและการรักษาสิ่งแวดล้อม สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดสู่ครอบครัวและชุมชน พร้อมเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจการป้องกันยาเสพติด
  2. ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนและสร้างมาตรการ ทางสังคมในการควบคุมปัญหายาเสพติดในระดับโรงเรียน
  3. ข้อที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรม ผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษาแกนนำ จำนวน 50 คน
  2. กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น - การจัดรายการเสียงตามสาย - การพูดสุนทรพจน์หน้าเสาธง - การจัดตั้งชมรมห่างไกลยาเสพติด
  3. กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปและประเมินผลเพื่อออกมาตรการทางโรงเรียนสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในโรงเรียน
  4. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เป้าหมาย นักศึกษา จำนวน 200 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน รวมเป็น 220 คน ระยะเวลา 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดความรุนแรงและลดผลกระทบของการแพร่ระบาดยาเสพติดในมหาวิทยาลัย
  2. เพิ่มอัตราการเข้าถึงระบบการบำบัดรักษาภาครัฐของผู้เสพและผู้ติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจการป้องกันยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจโทษของพิษภัย ยาเสพติด ร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนและสร้างมาตรการ ทางสังคมในการควบคุมปัญหายาเสพติดในระดับโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 2. จำนวนครั้งของการดำเนินกิจกรรมผ่านแกนนำนักเรียน
0.00

 

3 ข้อที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรม ผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจการป้องกันยาเสพติด (2) ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนและสร้างมาตรการ ทางสังคมในการควบคุมปัญหายาเสพติดในระดับโรงเรียน (3) ข้อที่ 3  ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรม ผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน  นักศึกษาแกนนำ จำนวน 50  คน (2) กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น - การจัดรายการเสียงตามสาย - การพูดสุนทรพจน์หน้าเสาธง - การจัดตั้งชมรมห่างไกลยาเสพติด (3) กิจกรรมที่ 4  ประชุมสรุปและประเมินผลเพื่อออกมาตรการทางโรงเรียนสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในโรงเรียน (4) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เป้าหมาย นักศึกษา จำนวน 200 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน รวมเป็น 220 คน ระยะเวลา 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริมทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮัซวานี อาบูวะ เลขานุการศูนย์เพื่อนใจ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด