กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยปลอดโรค
รหัสโครงการ 62-L5259-3-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโหย
วันที่อนุมัติ 4 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวจิตรา บุญสวัสดิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.396,100.884place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 160 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 170 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
20.00
2 จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

เด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการลดลงร้อยละ 10

20.00 10.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

20.00 10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. องค์การบริหารส่วนตำบลบาโหยมอบหมายภารกิจโครงการ
  2. จัดทำและเสนอโครงการรับการอนุมัติและการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาโหย
  3. ประสานวิทยากร เพื่อจัดกิจกรรมอบรมเสริมยุทธศาสตร์/ทักษะ/องค์ความรู้ใหม่ แก่ผู้ร่วมโครงการ
  4. จัดทำเป้าหมาย และกระบวนการพัฒนารวมถึงกลุ่มองค์กรที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
  5. ดำเนินกิจกรรมพัฒนาในศูนย์เด็กเล็กสังกัด   5.1 อบรมให้ความรู้เรื่อง“การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย การป้องกันโรคติดต่อที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ให้แก่ครูผู้ดูแลเด็กผู้ประกอบอาหารและผู้ปกครอง จำนวน 160 คน
          5.2 กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฯ จำนวน 8 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 2 คน รวม 16 คน       5.3 การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ป้องกันโรคติดต่อ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่ โรคฉี่หนู โรคมือปากเท้าเปื่อย           และโรคที่อุบัติขึ้นใหม่ ต่างๆ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    1. ประเมิน และรายงานผล
        6.1 ประเมินผลจากแบบสอบถาม และการติดตามโรคติดต่อที่เกิดขึ้น การลดจำนวนของโรคติดต่อได้
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัยได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ความเข้าใจ ไปใช้เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆครบถ้วนทุกขั้นตอน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้ตระหนัก และให้ความสำคัญการดูแลสุขภาพการป้องกันโรคติดต่อ -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการป่วยของเด็กลดลง -เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพอนามัยทุกคน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2562 16:52 น.