กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอรอนงค์ ขุนราช

ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5282-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่ประชาชน ในหมู่ที่ 9

(2) เพื่อสร้างเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีต่อประชาชน

(3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

(4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

(1) การอบรมให้ความรู้ในหลัก 3 อ. (อาหาร อารมย์และออกกำลังกาย) เพื่อสุขภาพ

(2) กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

(3) การประเมินผลการดำเนินกิจกรรมด้วยการตรวจประเมินหาค่า
BMI

ข้อเสนอแนะ

  • สมาชิกมีความพึงพอใจในเรื่องสุขภาพ เรื่องอารมณ์ คลายความเครียด สร้างความสามัคคี

  • เสนอให้มีกิจกรรมต่อยอดการออกกำลังกายโยคะบำบัด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 9 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น กรีดยางพารา ตัดลูกปาล์ม วิถีชีวิตจะดูคล้ายการได้ออกแรง หรือออกกำลังกายเป็นประจำ แต่ประชาชนก็ยังมีปัญหาด้านสุขภาพ อาทิ โรคเบาหวานและความดัน ประมาณร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด บ้างก็ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ข้อ กระดูก โรคเครียด เป็นต้น ซึ่งปัญหาข้างต้น ส่วนใหญ่เกิดจากการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม การออกกำลังกายที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งส่งผลต่อสภาพร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านที่ประสบปัญหาภาวะซึมเศร้า เพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจากไม่มีกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้สูงอายุได้แสดงออกหรือพบปะเพื่อนฝูง   ทางศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน หมู่ที่ 9 เล็งเห็นถึงสภาพปัญหาข้างต้น ด้วยวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสมให้ประชาชนในชุมชน และช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีด้วย  จึงได้จัดทำโครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรคเสนอรับงบประมาณต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่ประชาชน ในหมู่ที่ 9
  2. เพื่อสร้างเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีต่อประชาชน
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  4. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้ในหลัก 3 อ. (อาหาร อารมย์และออกกำลังกาย) เพื่อสุขภาพ
  2. กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
  3. การประเมินผลการดำเนินกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย/การเคลื่อนไหวร่างกายที่เหมาะสมขึ้น

๒. ประชาชนในชุมชน รักการออกกำลังกายและมีสุขภาพร่างกายที่ดีและจิตใจแจ่มใส


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การอบรมให้ความรู้ในหลัก 3 อ. (อาหาร อารมย์และออกกำลังกาย) เพื่อสุขภาพ

วันที่ 22 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค่าป้ายอะคลิลิก 640 บาท ค่าป้ายโครงการ 675 บาท ค่าป้ายไวนิล 150 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร 1800 บาท ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 750 บาท ค่าเอกสารความรู้ 1500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าป้ายอะคลิลิก
ค่าป้ายโครงการ ค่าป้ายไวนิล ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ค่าเอกสารความรู้

 

30 0

2. กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

วันที่ 22 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวิทยากร 1000 บาท ค่าชุดเครื่องเสียง 9400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าวิทยากร 1000 บาท ค่าชุดเครื่องเสียง 9400 บาท

 

30 0

3. การประเมินผลการดำเนินกิจกรรม

วันที่ 30 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ตามบันทึกข้อตกลงการรับเงินอุดหนุน ลงวันที่ 25 เดือน กรกฎาคม 2562 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการเมื่อวันที่ 22 เดือน สิงหาคม 2562 และเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว เมื่อ วันที่ 30 เดือน กันยายน 2562

  2. ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งสำเนาเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือเอกสารหลักฐานอื่นๆ จำนวน 6 ฉบับ จำนวน เงิน 16,915 บาท ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนมาพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป

  3. ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเงินงบประมาณคงเหลือ (ถ้ามี) คืนมาพร้อมหนังสือนี้

  4. ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ

  • ทำให้ประชาชนมีการออกกำลังกายที่เหมาะสมให้มากขึ้นและต่อเนื่อง ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิิดโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ความเครียด เป็นต้น

  • ทำให้ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบิโภค เช่น ลดการรับประทานเนื้อสัตว์และรับประทานผักมากขึ้น เปลี่ยนจากการทอดเป้นการต้มและนึ่งอาหาร เปลี่ยนจากแกงกะทิเป็นการส้ม ยำ และการทำต้มจืดมากขึ้น

  • ทำให้แนวโน้มค่า BM1 ค่าดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ลดลงจากเดิมจำนวน 30 คน ได้ค่า BM1 ลดลง 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100

5.ปัญหาและอุปสรรค ไม่มี

6.ความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไข

  • สมาชิกมีความพึงพอใจในเรื่องสุขภาพ เรื่องอารมณ์ คลายความเครียด สร้างความสามัคคี

  • เสนอให้มีกิจกรรมต่อยอดการออกกำลังกายโยคะบำบัด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่ประชาชน ในหมู่ที่ 9
ตัวชี้วัด : เพื่อประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 ชองกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง
0.00 0.00

 

2 เพื่อสร้างเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีต่อประชาชน
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายแกนนำคนรักษ์สุขภาพ ในชุมชน
1.00 5.00

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
5.00 10.00

 

4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
5.00 10.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่ประชาชน ในหมู่ที่ 9

(2) เพื่อสร้างเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีต่อประชาชน

(3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

(4) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

(1) การอบรมให้ความรู้ในหลัก 3 อ. (อาหาร อารมย์และออกกำลังกาย) เพื่อสุขภาพ

(2) กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

(3) การประเมินผลการดำเนินกิจกรรมด้วยการตรวจประเมินหาค่า
BMI

ข้อเสนอแนะ

  • สมาชิกมีความพึงพอใจในเรื่องสุขภาพ เรื่องอารมณ์ คลายความเครียด สร้างความสามัคคี

  • เสนอให้มีกิจกรรมต่อยอดการออกกำลังกายโยคะบำบัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

-

-

  • สมาชิกมีความพึงพอใจในเรื่องสุขภาพ เรื่องอารมณ์ คลายความเครียด สร้างความสามัคคี

  • เสนอให้มีกิจกรรมต่อยอดการออกกำลังกายโยคะบำบัด


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค

รหัสโครงการ 62-L5282-2-06 ระยะเวลาโครงการ 4 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีการสร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน จากการกระทำและบันทึก เก็บรวบรวมข้อมูล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

สมุดบันทึกสุขภาพ

การนำผลการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ ค้นหาประเด็นสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของตัวบุคคล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

จากการร่วมกลุ่มและเกิดกระบวนการการเรียนรู้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย เกิดต้นแบบ/แบบอย่างของการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพไปในทิศทางที่ดีขึ้น

สมุดบันทึกสุขภาพ บันทึกค่า BMI และการตรวจหาค่าความดันโลหิตสูงและค่าน้ำตาลในเลือด

นำกระบวนการและกิจกรรมส่งเสริมในกลุ่มวัยต่างๆ เช่น เยาวชน กลุ่มโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแรงงานนอกระบบได้ เป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้จากการกระทำ และการยึดถือข้อตกลงของกลุ่ม

การสอบถาม สัมภาษณ์ การทำบันทึกข้อตกลง

การขยายผลในกลุ่มอื่นๆเพิ่มเติม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การทำงานเกิดจากปัญหา ความคิดและความต้องการของกลุ่มคน มีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ มีเงื่อนไขที่ทุกคนทำ เกิดการพูดคุยและเปรียบเทียบระหว่างบุคคลโดยไม่มีการขัดแย้ง การแข่งขันที่มีการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพเป็นของรางวัล โดยมีหน่วยงาน/กองทุนสุขภาพเป็นผู้สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมตามความต้องการของชุมชน ส่งผลให้เกิดความยั่งยืน

การตั้งกลุ่ม และมีกิจกรรมต่อเนื่องแม้จบโครงการ

สนับสนุนในกลุ่มอื่นๆ โดยให้กลุ่มเดิมเป็นต้นแบบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีการตั้งกลุ่มคนรักษ์สุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

มีต้นแบบการจัดการตนเองของคนในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการร่วมกิจกรรมต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารอและพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงย่างเคร่งครัด
มีการขยายผลสู่การเปลี่ยนแปลงของคนในครอบครัวและเพื่อนบ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

มีการบันทึกเมนูอาหารที่รับประทานกันที่บ้านของตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ออกกำลังกายต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

เกิดกลุ่ม การพูดคุยประเด็นปัญหา การปลดปล่อยความเครียด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การรับประทานอาหารที่ปลอดสารพิษ ผักสวนครัว รั้วกินได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

เป็นแบบอย่างที่เห็นผล ทำให้คนในครอบครัวเห็นถึงคุณค่าและเกิดการเริ่มการเปลี่ยนแปลงตัวเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5282-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรอนงค์ ขุนราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด