กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม ปี 2560
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 29,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสำรวย ว่องไวยุทธ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.604,99.627place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 850 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่่สตรีกลุ่มเป้หมายในชุมชน

สตรีอายุ 30-70 ปี จำนวน 500 คน ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลากรสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง

สตรรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 350 คน คนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาเซลล์ผิดปกติดของปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 40

3 เพื่อค้นหาโรคมเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกได้มากขึ้นและผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง ต่องเนื่อง ทันท่วงที

สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีอายุ 30-60 ปี ทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกภายในระยะเวลา 5 ปี
  2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลากรสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. สตรีรายที่มีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาทุกรายทำให้อัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2560 11:22 น.