กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง
รหัสโครงการ 62-L5273-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
วันที่อนุมัติ 26 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 70,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
พี่เลี้ยงโครงการ นางดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.007,100.296place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2562 30 ก.ย. 2562 70,000.00
รวมงบประมาณ 70,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม  ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง

0.00
2 ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมือย ดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากข้อเข่าเสื่อม

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายไม่เป็นโรคเข้าเข่าเสื่อม  ร้อยละ 80 ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเข้าเข่าเสื่อมไม่มีภาวะแทรกซ้อน

0.00
3 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ ข้อ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน

แกนนำอาสาสมัครสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการร้อยละ 80

0.00
4 ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน

แกนนำอาสาสมัครสุขภาพส่งข้อมูลการดำเนินงานทันตสุขภาพในชุมชนให้ทันทุกวันที่ 20 ของทุกเดือนร้อยละ 80

0.00
5 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

0.00
6 ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม

0.00
7 4. กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ ข้อ 1.เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

เด็กกลุ่มเป้าหมาย  ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90

0.00
8 ข้อ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึก/เจตคติที่ดีแก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน

ผู้ปกครองของเด็ก 0-5 ปี เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ  80

0.00
9 ข้อ 3. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง

ไม่เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในกลุ่มเป้าหมาย

0.00
10 5. กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ข้อ 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซีดและมีภาวะซีดลดลง

อัตราร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดไม่เกินร้อยละ 10

0.00
11 ข้อ 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว

อัตราร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน  ธาตุเหล็ก  และกรดโฟลิกร้อยละ  100

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 420 70,000.00 8 70,000.00
1 มี.ค. 62 - 31 ส.ค. 62 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สนใจ 80 16,400.00 16,400.00
1 มี.ค. 62 - 31 ส.ค. 62 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 2.1 กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา 40 7,000.00 7,000.00
1 มี.ค. 62 - 31 ส.ค. 62 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 2.2 กิจกรรมเข้าฐานสาธิตและฝึกปฏิบัติพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน 40 8,400.00 8,400.00
1 เม.ย. 62 - 31 ส.ค. 62 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.1 กิจกรรมให้ความรู้ 100 10,100.00 10,100.00
1 เม.ย. 62 - 31 ส.ค. 62 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.2 กิจกรรมออกหมู่บ้านติดตามวัคซีน 0 0.00 0.00
1 เม.ย. 62 - 31 ส.ค. 62 5.กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ อบรมให้ความรู้ 60 12,300.00 12,300.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ส.ค. 62 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.1 จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 1) 50 9,800.00 9,800.00
1 ก.ค. 62 - 30 ส.ค. 62 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.1 จัดอบรมให้ความรู้และติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 2) 50 6,000.00 6,000.00

1.การเตรียมการ   1.1 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูลมาวางแผนการดำเนินงานโครงการ   1.2 ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและทีมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ   1.3 เขียนโครงการเสนอ เพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉลุง 2. ขั้นเตรียมการ   2.1 กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม     - ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    - ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานและ อสม. ในชุมชนเพื่อชี้แจง รายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ     - คณะทำงานร่วมกันค้นหากลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ     - จัดอบรมเรื่องการป้องกันและวิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย     - ติดตามประเมินอาการหลังได้นำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติ     - ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดความสำเร็จ     - สรุปผลการดำเนินงาน   2.2 กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ     - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ     - ประสานผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินการอบรม     - ดำเนินการอบรมหลักสูตรการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชนให้กับแกนนำอาสาสมัครสุขภาพและคณะทำงาน     - จัดทำแผนการออกติดตามการดำเนินงานของแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขและคณะทำงาน     - สรุปผลการอบรม     - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ พร้อมออกติดตามผู้ที่ไม่เคยตรวจช่องปาก ให้ทันตสุขศึกษาแก่ประชาชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลช่องปากของตนเอง และนัดมารับบริการทันตกรรมในครั้งต่อไป     - สรุปผลการดำเนินกิจกรรม   2.3 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม     - สรุปรายชื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ผ่านการคัดกรองโดย อสม. เพื่อเข้ารรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยผู้เข้ารรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีผลการคัดกรองดังนี้ ผู้ชาย BMI เกิน 90 ซม. ผู้หญิง BMI เกิน 80 ซม. วัดระดับความดันโลหิต BP  ตัวบน 120-139 mmHg และหรือตัวล่าว 80-89 mmHg วัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว FCG น้อยกว่า 100 mg./dl. และ FCG 100-125 mg./dl.     - ประชาสัมพันธ์โครงการภายในชุมชน เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มเสี่ยง และภาคีสุขภาพในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาวะชุมชน     - ประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงและ อสม. ทีมสุขภาพในชุมชน โดยให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวงนการจัดการปัจจัยเสี่ยงเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเป็นสาเหตุหลักของการเกิดปัญหาสุขภาพและเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และโรคหลอดเลือดสมอง     - จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทฤษฎีในชุมชน แนวคิดและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ     - ติดตามประเมินผลกลุ่มเสี่ยงหลังเข้ารรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1 เดือน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว FCG โดย อสม.     - สรุปผลที่เกิดขึ้นกับชุมชน คืนข้อมูลสู่ชุมชน และมีการเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน   2.4 กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์     - จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กเรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสุขศึกษาจากโรงพยาบาล เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีนเพื่อนำไปพูดคุย/ชักชวนคนในชุมชนให้นำบุตรมารับวัคซีน     - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัดทุกสัปดาห์     - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พร้อมออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนนัด ให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็ก เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนพาบุตรมารับวัคซีนในคร้้งต่อไป     - สรุปผลการดำเนินกิจกรรม   2.5 กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์     - ดำเนินการอบรมให้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ สามี ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลฉลุง
    - จ่ายยาบำรุงธารุเหล็กแก่หญิงตั้งครรภ์ทุกราย และเพิ่มบทบาทให้สามีมีส่วนร่วมในการเตรียมยาเสริมธาตุเหล็กให้หญิงตั้งครรภ์กินทุกวัน     - ดำเนินการติดตามการกินยาเสริมธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์อย่างต่อเนื่องประสานงานเครือข่ายในการติดตามกระตุ้นเตือนการกินยาเสริมธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์ ในกรณีไม่สามารถติดต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง     - ติดตามตรวจความเข้มข้นของเลือดทุกเดือนจนกระทั่งผลความเข้มข้นของเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ     - สรุปผลการดำเนินกิจกรรม     - ขั้นการติดตามและประเมินผล     - ขั้นสรุปผลการดำเนินโครงการในภาพรวม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม   1.1 ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถลดความเจ็บปวดและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข   1.2 สามารถป้องกันและควบคุมโรคข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมในชุมชนได้
  2. กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ   2.1 แกนนำอาสาสมัครสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในงานทันตสาธารณสุข และสามารถดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชนได้   2.2 แกนนำอาสาสมัครสุขภาพสามารถค้นหาปัญหาสภาวะทันตสุขภาพในชุมชน และสามารถจัดทำแผนแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดกระบวนการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม
  3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม   3.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ   3.2 กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูและสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม   3.3 อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดลง
  4. กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์   4.1 องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5 ปี   4.2 ผู้ปกครองของเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพ่ิมประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  5. กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์   5.1 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความสามารถดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์ได้และมีความปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง   5.2 อัตราเกิดภาะวโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ลดลงร้อยละ 5 จากเดิมและอัตราร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดไม่เกินร้อยละ 10   5.3 หญิงตั้งครรภ์และครบอครัว มีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกตก้องขณะตั้งครรภ์   5.4 เกิดการมีส่วร่วมและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรชุมชนในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 2562 11:41 น.