กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หญิงวัยเจริญพันธ์ร่วมเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนรัก
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซากีนะห์อุเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ นางมาหัมมัดมะมิง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.848,101.22place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนรักมีความประสงค์จะจัดทำโครงการหญิงวัยเจริญพันธ์ร่วมเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ในปีงบประมาณ๒๕60โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลดอนรักเป็นเงิน20,0๐๐ บาท

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. รุกชุมชนเพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมายและให้สุขศึกษาการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และเต้านม
  2. บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมายในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
  3. มอบของขวัญที่ระลึก แก่กลุ่มเป้าหมายที่มารับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
  4. ติดตามผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และแจ้งผลการตรวจแก่กลุ่มเป้าหมายทราบ และให้คำปรึกษา แนวทางการรักษา การส่งต่อและการติดตามอย่างเป็นระบบ(เฉพาะในรายที่พบโรค)
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนเห็นความสำคัญของการตรวจมะเร็งปากมกลูก และมะเร็งเต้านม
  2. ไม่น้อยกว่าร้อยละ20 ของสตรีในกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์ชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ร้อยละ 80 ของสตรีที่มีอายุ 30 – 60 ปี มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้
  4. เครือข่าย อสม. เป็นผู้สอนการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองในชุมชน
  5. เกิดเครือข่ายการเฝ้าระวังดูแล ค้นหา และส่งต่อในระดับปฐมภูมิ
  6. ชุมชนเกิดความตระหนักต่อโรคมะเร็ง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2560 15:13 น.