กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ


“ โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562 ”

ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพเยาว์ คงเพ็ชร์

ชื่อโครงการ โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 2 -12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กันยายน 2562 ถึง 23 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62 - L8426 - 2 -12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กันยายน 2562 - 23 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มอาสาจัดการขยะ รักษ์สิ่งแวดล้อม ตำบลตันหยงลิมอ เป็นกลุ่มที่เกิดจากชาวบ้านที่มีจิตอาสาเข้ามาขับเคลื่อนการจัดการขยะของแต่ละหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลตันหยงลิมอ ด้วยการรณรงค์ให้ชาวบ้านคัดแยกขยะ ประสานรถรับซื้อขยะเข้ามารับซื้อขยะรีไซเคิล  โดยมีกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอ เป็นที่ปรึกษา คอยให้คำแนะนำ และสนับสนุนข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในพื้นที่ ซึ่งการดำเนินงานพบว่า ปริมาณขยะในพื้นที่ตำบลตันหยงลิมอไม่มีแนวโน้มลดลง ชาวบ้านยังไม่เห็นความสำคัญของการคัดแยกขยะ ซึ่งในอดีตชาวบ้านมีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย การดำเนินชีวิตแบบพอเพียง กลมกลืนกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีพฤติกรรมการบริโภคตามความจำเป็น วัสดุเหลือทิ้ง หรือขยะมูลฝอยที่เกิดจากการบริโภคส่วนใหญ่เป็นวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ ประกอบกับจำนวนประชากรที่มีน้อย ปัญหาขยะจึงมีไม่มากนัก แต่ปัจจุบันจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การคมนาคมขนส่ง การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม  ส่งผลให้การดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนแปลงไป มีการใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้คุณค่า ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ปัญหาขยะจึงมีเพิ่มมากขึ้น  มีการใช้สารเคมี  หรือสิ่งแปลกปลอมที่มีอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อม  ตลอดจนการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้อง เช่น การเผา การทิ้งขยะลงแหล่งน้ำ คู คลอง  นอกจากนี้ขยะบางอย่าง เช่น ถุงพลาสติก กะลา สามารถเป็นแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย  อาจนำมาซึ่งปัญหาสุขภาพ  รวมทั้งปัญหาเศรษฐกิจ
    การแก้ไขปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ แกนนำกลุ่มหรือองค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่  ตลอดจนภาคประชาชน ในการดำเนินงานกันอย่างจริงจัง  กลุ่มอาสาจัดการขยะ รักษ์สิ่งแวดล้อมตำบลตันหยงลิมอ  ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว  จึงได้จัดทำโครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะฯร่วมสร้างเครือข่ายบริหารจัดการขยะ  ปี 2562  เพื่อให้ทุกภาคส่วนในพื้นที่ตำบลตันหยงลิมอเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ ตลอดจนพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการขยะ เพื่อลดปริมาณขยะ และร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา สมาชิก อบต. ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่หน่วยงานราชการต่าง ๆ ในพื้นที่ตำบลตันหยงลิมอและตัวแทนประชาชน เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 120 คน  โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตันหยงลิมอ ภายใต้ความร่วมมือขององค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอในการดำเนินงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมตำบลตันหยงลิมอ
  2. เพื่อจัดทำแผนงานและกิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน
  3. เพื่อส่งเสริมการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมโครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะฯร่วมสร้างเครือข่ายบริหารจัดการขยะ ปี 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ทุกหมู่บ้านมีแผนงานและกิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน สามารถลดปริมาณขยะ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ป้องกันปัญหาสุขภาพ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค ส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และ ปลอดโรค เป็นหมู่บ้านต้นแบบการบริหารจัดการขยะ เป็นตำบลสะอาดอย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมโครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะฯร่วมสร้างเครือข่ายบริหารจัดการขยะ ปี 2562

วันที่ 1 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

รับชมวีดีทัศน์ สรุปผลการดำเนินงานการบริหารจัดการขยะตำบลตันหยงลิมอ
การทำบันทึกข้อตกลง การบริหารจัดการขยะตำบลตันหยงลิมอ กิจกรรมกลุ่ม
  - จัดตั้งคณะกรรมการกลุ่มบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน   - การจัดทำแผนงาน กิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน   - นำเสนอแผนงาน กิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน   - สรุปและถอดบทเรียน  แผนงาน กิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกหมู่บ้านมีแผนงานและกิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน สามารถลดปริมาณขยะ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ป้องกันปัญหาสุขภาพ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค ส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และ ปลอดโรค  เป็นหมู่บ้านต้นแบบการบริหารจัดการขยะ เป็นตำบลสะอาดอย่างยั่งยืน     - มีคณะกรรมการกลุ่มบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้านครอบคลุม ๘ หมู่บ้าน     - ทุกหมู่บ้านนำเสนอแผนงาน กิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มอาสาจัดการขยะรักษ์สิ่งแวดล้อมตำบลตันหยงลิมอรับลงทะเบียนหน้าห้องประชุม ตั้งแต่เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วยผู้แทนจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ตำบลตันหยงลิมอ ครอบคลุมทั้ง ๘ หมู่บ้าน ซึ่งบางรายยังอยู่ระหว่างการเดินทาง ยังเดินทางมาไม่ถึง แต่ทางกลุ่มพิจารณาเห็นว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการที่ลงทะเบียนแล้วจำนวน ๘๐ คน ประกอบกับทานประธานในพิธีเดินทางมาถึงห้องประชุมเรียบร้อย  จึงเรียนเชิญท่านประธานเปิดโครงการ โดยมีนางพเยาว์ คงเพ็ชร์ ประธานกลุ่มอาสาจัดการขยะ รักษ์สิ่งแวดล้อมตำบลตันหยงลิมอ พร้อมด้วยทีมงาน กล่าวรายงานความเป็นมาพร้อมวัตถุประสงค์ของโครงการ และนายไซเดน อาแวเต๊ะ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอ ประธานกล่าวเปิดโครงการพร้อมปราศรัยกับผู้เข้าร่วมโครงการ โดยเน้นในเรื่องการบริหารจัดการขยะ และการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการดำเนินงานเพื่อให้พื้นที่ตำบลตันหยงลิมอ เป็นตำบลสะอาด ระหว่างท่านประธานกล่าวเปิดโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการเดินทางมาถึงห้องประชุม และทยอยเข้าห้องประชุม จนครบ ๑๒๐ คน หลังจากท่านประธานกล่าวเปิดเสร็จ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับชมสรุปผลการดำเนินงานการบริหารจัดการขยะตำบลตันหยงลิมอที่ผ่านมาและมีการจัดตั้งคณะกรรมการกลุ่มบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ซึ่งแต่ละหมู่บ้านมีจำนวนคณะกรรมการไม่เท่ากัน เนื่องจากคณะกรรมการเป็นตัวแทนจากทุกภาคส่วนที่อยู่ในหมู่บ้านนั้น ๆ (เอกสารแนบท้ายที่ ๑) โดยคณะกรรมการที่แต่งตั้งนี้จะเป็นแกนนำชาวบ้านร่วมบริหารจัดการขยะได้ ต่อด้วยการจัดทำแผนงานกิจกรรม การบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน เพื่อดำเนินงานด้านการจัดการขยะของแต่ละหมู่บ้าน พบว่า มีเลือกเป็นงานเด่น ในการจัดการบริหารขยะ ๒ ประเภท คือ ขยะอินทรีย์ และขยะรีไซเคิล  สำหรับการสรุปและถอดบทเรียน แต่ละหมู่บ้านได้นำเสนอแนวคิดและวิธีในการดำเนินงานแบบคร่าวๆ ซึ่งทุกหมู่บ้านเลือกดำเนินการโดยการดึงศักยภาพ และความพร้อมที่มีของหมู่บ้าน เพื่อเป็นกระบวนการนำไปต่อยอดในการบริหารจัดการในหมู่บ้านต่อไป
หลังเสร็จสิ้นการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการ รวมทั้งคณะกรรมการกลุ่มบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ที่จัดตั้งขึ้น จะนำแผนงาน กิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้านที่กำหนดไว้ ไปดำเนินการต่อในพื้นที่ของตนเอง และอาจขอสนับสนุนงบประมาณบางส่วนสำหรับใช้ทำกิจกรรม เพื่อช่วยกันลดปริมาณขยะ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ป้องกันปัญหาสุขภาพ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค ส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และ ปลอดโรค เป็นหมู่บ้านต้นแบบการบริหารจัดการขยะ เป็นตำบลสะอาดอย่างยั่งยืน การดำเนินโครงการครั้งนี้ประสบผลสำเร็จด้วยดี บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่านที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ขอบคุณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตันหยงลิมอที่ให้การสนับสนุนงบประมาณ และขอบคุณองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอที่สนับสนุนบุคลากรรวมทั้งสถานที่จัดโครงการในครั้งนี้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมตำบลตันหยงลิมอ
ตัวชี้วัด : ทุกภาคส่วนในพื้นที่ตำบลตันหยงลิมอ เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

2 เพื่อจัดทำแผนงานและกิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ทุกหมู่บ้านมีแผนงานและกิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : แหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค ลดลง ร้อยละ 30
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมตำบลตันหยงลิมอ (2) เพื่อจัดทำแผนงานและกิจกรรมการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้าน (3) เพื่อส่งเสริมการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมโครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะฯร่วมสร้างเครือข่ายบริหารจัดการขยะ  ปี 2562

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 2 -12 ระยะเวลาโครงการ 23 กันยายน 2562 - 23 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการกลุ่มอาสาจัดการขยะร่วมสร้างแกนนำบริหารจัดการขยะ ป้องกันโรค ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 2 -12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพเยาว์ คงเพ็ชร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด