กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ห่างไกลยาเสพติดในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ 62-L1468-01-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลกันตัง
วันที่อนุมัติ 19 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 25 กันยายน 2562
งบประมาณ 11,525.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชยรักษ์ นาคช่วย
พี่เลี้ยงโครงการ นางสมใจ เป้าทอง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.402,99.549place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 31 ก.ค. 2562 31 ก.ค. 2562 31 ก.ค. 2562 31 ก.ค. 2562 11,525.00
รวมงบประมาณ 11,525.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นภัยที่ร้ายแรงในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน มีการแพร่ระบาดและขยายไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศมากขึ้น จากข้อมูลสถิติการจับกุมยึดยาบ้าลักลอบลำเลียงต่อครั้งในปี 2560 พบว่ามีจำนวนไม่ต่ำกว่า 1 ล้านเม็ด และจำนวนกว่า 54 คดี สามารถยึดยาบ้าได้ 147.5ล้านเม็ด ซึ่งมากกว่ายาบ้านที่จับยึดได้ในช่วงปี 2556 -2559 รวมกัน (ที่มา : ส่วนข่าวกรองยุทธศาสตร์ สำนักงาน ป.ป.ส 25 ธันวาคม 2560) โดยมีรูปแบบการแพร่กระจายที่หลากหลายมากขึ้น ซึ่งกลุ่มเยาวชนถือเป็นกลุ่มที่มีโอกาสติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่น เนื่องจากความอยากรู้อยากลอง และความคึกคะนองเป็นส่วนใหญ่ อีกทั้งสภาพแวดล้อม สื่อ และค่านิยมต่างๆ เป็นแรงผลักดัน ประกอบกับสถานการณ์ราคายาเสพติดที่ลดลง ส่งผลให้หาซื้อยาเสพติดและสารเสพติดมากที่สุด (ร้อยละ 58.79) รองลงมาคือ กลุ่มผู้ว่างงาน (ร้อยละ57.56)กลุ่มอาชีพรับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 47.07) กลุ่มศิลปิน,ดารา,นักร้อง (ร้อยละ 40.33) กลุ่มเกษตรกร (ร้อยละ13.18) (ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร แม่โจ้โพลล์) จากข้อมูลการบำบัดรักษายาเสพติด ห้วงเดือนตุลาคม 2559 - มีนาคม 2560 ในพื้นที่ 7 จังหวัด ภาคใต้ตอนล่าง มีผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด จำนวน 3227 คน โดยส่วนใหญ่เข้ารับการบำบัดยาบ้าร้อยละ 40.19 รองลงมา 3 อันดับแรกได้แก่ กระท่อม ร้อยละ 31.76 ไอซ์ ร้อยละ 9.27 และกัญชาร้อยละ 9.05 เพื่อพิจารณาพื้นที่ที่เข้ารับการบำบัด พบว่า จังหวัดสงขลามีผู้เข้ารับการบำบัดสูงสุด (ร้อยละ 38.36)รองลงมา ได้แก่ จังหวัดตรัง (ร้อยละ 15.71) จังหวัดนราธิวาส (ร้อยละ 15.37) จังหวัดปัตตานี (ร้อยละ 11.19) จังหวัดพัทลุง (ร้อยละ 7.96) จังหวัดสตูล (ร้อยละ6.10) และจังหวัดยะลา (ร้อยละ5.30) ตามลำดับ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 65 11,525.00 1 11,525.00
31 ก.ค. 62 อบรมให้ความรู้ 65 11,525.00 11,525.00

1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.จัดเตรียมสถานที่/เอกสาร 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ประกอบไปด้วยเนื้อหา ดังนี้ -ความหมายของยาเสพติด/ประเภทของยาเสพติด/โทษและพิษภัยของยาเสพติด/สถานการณ์ของยาเสพติดในปัจจุบัน/ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย/สาเหตุของการติดยาเสพติด/วิธีสังเกตอาการผู้ติดยาเสพติด/การป้องกันการติดยาเสพติดและการแพร่ระบาดของยาเสพติด (ทดสอบความรู้โดยแบบสอบถามก่อน-หลัง เข้าร่วมโครงการ) 4.ประเมินผล/สรุปรายงานผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าอบรมสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันด้านร่างกายจิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยวิถีแห่งหลักธรรม 2.ได้ร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และชุมชนอย่างได้เป็นรูปธรรม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2562 13:08 น.