กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยงและลดโรค
รหัสโครงการ 62-L5198-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร
วันที่อนุมัติ 24 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 83,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด หลีขาหรี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.586,100.695place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (83,800.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนซึ่งได้จากสถานการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรค Metabolic โดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัจจัยหาต่อเนื่องในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มที่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียดการเสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดีสามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้จะเป็นกลไลพื้นฐานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยง ซึ่งการสร้างความรู้ ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวอาจไม่มีผลเพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ การจัดกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องควบคู่กับการให้ความรู้ ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในครอบครัว และชุมชนก็จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมที่ดีได้ดังนั้นจึงสมควรอ่างยิ่งที่จะเร่งการทำงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปและให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ซึ่งทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร จัดตั้งคลีนิก DPACในหน่วยงานเพื่อให้บริการคลีนิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ยิ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุศักยภาพในการดูแลตนเองไม่เต็มที่เนื่องจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ควบคุมโรคได้และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นควรมีการส่งเสริมศักยภาพในการดูแลตนเองเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี โดยทั่วหน้า ผลจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมาจากกลุ่มเป้าหมาย 1,696 ราย พบว่า มีผู้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 242 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและลดโรค ในหมู่ที่ 4 – 8 ขึ้น และได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลทับช้าง สนับสนุนให้ชุมชนมีการจัดการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการให้กลุ่มเสี่ยงสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่กลุ่มประชาชนทั่วไปซึ่งยังไม่มีความเสี่ยง ทั้งนี้การจัดการชุมชนสามารถลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพด้านต่าง ๆ ต้องดำเนินการควบคู่ไปด้วยกัน ทั้งการจัดการสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการลดโอกาสเสียง เช่น การกำหนดมาตรการทางสังคมของชุมชน และการให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้องรวมถึงมีความรู้ ความเข้าใจจนเกิดความตระหนักสามารถดูแลสุขภาพและจัดการกับตนเอง และครอบครัวให้สามารถควบคู่พฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับที่พอเหมาะสมลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน 130/80 มม.ปรอท

0.00
2 เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการลดน้ำหนักและทำกิจกรรมร่วมกัน

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลไม่เกิน 125 mg/dl

0.00
3 เพื่อจัดบริการเชิงรุกในการคัดกรองภาวะสุขภาพ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง

ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเรื้อรัง สามารถควบคุมโรคได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 70 83,800.00 3 83,800.00
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 ลงพื้นที่คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,696 คน จำนวนทั้ง 5 หมู่บ้าน 70 48,950.00 48,950.00
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง 0 22,100.00 12,750.00
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 ติดตามประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและระดับความเสี่ยงของ กลุ่มเป้าหมายต่อเนื่องทุก 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน และบันทึกผลทุกครั้ง 0 12,750.00 22,100.00
  1. ประชุมชี้แจงโครงการ
  2. จัดทำโครงการ/อนุมัติ
  3. ดำเนินโครงการจัดการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าร่วม จำนวน 5 ครั้ง คัดกรองในกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไปทุกคน
  4. อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองได้
  5. ติดตามประเมินหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชากรได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง
  3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2562 11:05 น.