กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมภาคีเครือข่ายนักจัดการเพื่อคลินิกสู่ประชาชน
รหัสโครงการ 62 L3360 -2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่
วันที่อนุมัติ 30 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 37,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผอ.รพ.สต.บ้านหูแร่
พี่เลี้ยงโครงการ นางจรรยา คงสุด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.556,100.008place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ เป็นด่านแรกต่อการเข้าถึงประชาชนเนื่องจากเข้าถึงได้ง่าย รูปแบบการทำงานเป็นแบบเบ็ดเสร็จในกระบวนการเดียว มีขั้นตอนการรับบริการที่ไม่ยุ่งยาก เข้าใจได้ง่าย สะดวก มีความเป็นกันเองสูงเพราะต้องดูแลประชาชนในพื้นที่ตั้งแต่เกิดจน
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ ๑ เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่าย จิตอาสาคู่หน่วยบริการ -คลินิกโรคไม่ติดต่อ -คลินิกวางแผนครอบครัวและDPAC สู่ชุมชน -คลินิกเด็กดีด้วยวัคซีนในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค -คลินิกติดตามปัญหาพัฒนาการ โภชนาการ ความฉลาดด้านสติปัญญา อารมณ์ สังคม

-ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข การคัดกรองเบาหวาน/ ความดันโลหิตไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 -ลดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มากกว่าร้อยละ ๘๐ -ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ เบาหวานมากกว่าร้อยละ4๐ ความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 5๐
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข -มีความครอบคลุมวัคซีน เด็ก แรกเกิด-๖ ปี ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๕
- กลุ่มพัฒนาการล่าช้าได้เข้าถึงช่องทางการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ

0.00
2 ข้อที่ ๒. เพื่อประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจการให้บริการตามมาตรฐานคุณภาพต่อประชาชน
  • หน่วยบริการมีคลินิกรองรับภารกิจปัญหา 5 กลุ่มวัย
  • มีช่องทางการเข้าถึงการติดตามด้านสุขภาพเพื่อการป้องกัน เฝ้าระวังภัยสุขภาพ อุบัติเหตุ โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ (ปัญหาที่พบบ่อยใน 5 กลุ่มวัย)
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 37,600.00 3 37,600.00
25 มิ.ย. 62 ๑.๑ ประชุมทีมสุขภาพและอาสาสมัครสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายในชุมชนเพื่อกำหนดแผนงาน มอบหมายกิจกรรม ออกแบบการอบรมปัญหา 5 กลุ่มวัยจากสภาพปัญหาในคลินิกทำเป็นฐานให้ง่ายต่อความเข้าใจ 100 37,600.00 37,600.00
25 มิ.ย. 62 ๑.๒. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อผู้มารับบริการเข้าใจบทบาทเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขคู่หน่วยบริการ 0 0.00 0.00
25 มิ.ย. 62 ๑.๓ คืนข้อมูลผลการดำเนินงาน สภาพปัญหาที่พบ ข้อเสนอแนะที่ได้ออกแบบงานร่วมกัน 1.4 จัดทำเอกสารเอกสารคู่มือ แนวทางร่วมกันเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไปในชุมชน - คลินิกดีแพคลดเสี่ยง /คู่มือ DPAC ลดพุง - คลินิกโรคเรื้อรัง/ คู่มือแนวทางจัดการการควบคุมโรคความดันโลหิ 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข (กลุ่มแม่และเด็ก/กลุ่มวัยเรียน/กลุ่มวัยทำงาน/กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มผู้สูงอายุ       ๒. ประชาชนเข้าถึงการจัดการของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ รพ.สต.ติดดาวตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถสร้างปัจจัยเอื้อต่อการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพตาม 5 กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพมากขึ้น       ๓. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดัน อ้วนตลอดจนผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถเข้าถึงช่องทางการบริการของหน่วยบริการที่ได้มาตรฐานมากขึ้น มีผลในการป้องกัน เฝ้าระวัง สามารถควบคุมโรคได้มากขึ้น (เบาหวานมากกว่าร้อยละ4๐/ ความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 5๐)
      ๔. กลุ่มแม่และเด็กได้เข้าถึงช่องทางการติดตามด้านวัคซีน ปัญหาพัฒนาการ ปัญหาโภชนาการ ปัญหาวัยเรียน การรับคำปรึกษาด้านสุขภาพตลอดจนการวางแผนครอบครัว
      5. มีต้นแบบการเรียนรู้และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีในหน่วยบริการ นำไปสู่การจัดการจัดเก็บบ้านเรือนและสิ่งแวดในชุมชนให้มีการป้องกันเฝ้าระวังภัยสุขภาพโรคติดต่อ ติดเชื้อ โรคไม่ติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2562 10:52 น.