กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมบ้านสวยเมืองงาม เพื่อป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
รหัสโครงการ 2562-L7572-02-024
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนบ้านท่ามิหรำ
วันที่อนุมัติ 15 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มิถุนายน 2562 - 25 กรกฎาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 35,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอนุสรณ์ จ่าวิสูตร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเพิ่มชี้นของปริมาณขยะมูลฝอย มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปีเนื่องขากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นและพฤติกรรมบริโภคของประชาชนที่เปลี่ยนไป ตั้งขยะเปียกขยะแห้งใส่ในถังเดียวกัน จนล้นถัง หล่นเรี่ยราดเต็มบริเวณขยะทำให้สกปรกและเกิดเชื้อโรค รัฐบาลมีวาระแห่งชาติเห็นความสำคัญในการเก็บขยะ เทศบาลเมืองพัทลุงมีนโยบายทำขยะเปียกให้เป็นปุ๋ยหมักก่อน ชุมชนท่ามิหรำเห็นว่าเป็นนัยที่มีความสำคัญสำหรับชุมชนแต่ต้องไปปรับความคิดของประชาชนเสียก่อนในการทำขยะเปียกให้เป็นปุ๋ยหมัก การขับเคลื่อนครั้งนี้โดยยึดหลักการขับเคลื่อนของแผนชุมชนแก้ปัญหาต่างๆในชุมชนต้องอาศัยแนวร่วมทั้งผู้นำ และประชาชนต้องเรียนรู้การกำจัดขยะที่ถูกวิธี จึงกำหนดทิศทาง 4 กิจกรรม   1.เร่งการกำจัดขยะมูลฝอยสะสมในสถานที่   2.เน้นการกำจัดขยะเปียกโดยทำเป็นปุ๋ยหมัก   3.คัดแยกขยะรีไซเกิล   4.สร้างวินัยคนชุมชนอย่างยั่งยืน ซึ่งขยะเป็นแหล่งก่อโรคที่สำคัญ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคหลายชนิด เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พาหะของโรคไข้เลือดออก โรคฉี่หนู เป็นต้น จากข้อมูลด้านสุขภาพพบว่า ในปี 2559 และปี 2560 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2 คน ดังนั้นชุมชนบ้านท่ามิหรำจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์สภาพแวดล้อม เพื่อลดปริมาณขยะ และเพื่อป้องกันโรคติดต่อในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ ลดงบประมาณเมื่อจัดเก็บขยะ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

จำนวนร้อยละ 80ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความสามารถจัดการขยะ ลดงบประมาณในการแก้ไข

0.00
2 รณรงค์ ขยายผลสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัย

จำนวนร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมสามารถทำขยะเปียกเป็นปุ๋ยหมักได้

0.00
3 สร้างจิตสำนึกการเป็นคนจิตใจสาธารณะอย่างแท้จริง

ร้อยละ 80 สามารถรณรงค์ให้ราษฎรมีส่วนร่วมในชุมชน

0.00
4 เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน เช่น โรคไข้เลือดออก

ผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลงร้อยละ 70

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 3,700.00 3 36,050.00
10 มิ.ย. 62 - 9 ก.ค. 62 ประชุมคณะทำงาน 0 0.00 4,330.00
10 มิ.ย. 62 - 25 ก.ค. 62 ประชุมชึ้แจงให้ความรู้แก่องค์กรชุมชน/ อสม./สตรี 0 2,700.00 31,000.00
25 ก.ค. 62 สรุปผลการดำเนินงาน 0 1,000.00 720.00

1.จัดทำแผนชุมชนทุกมิติ

2.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการจัดทำโครงการ

3.ให้ความรู้การจัดการขยะ และการทำขยะเปียกเป็นปุ๋ยหมักและการฝังกลบ/แยกขยะรีไซเกิล

4.รณรงค์ประชาสัมพันธ์

5.แบ่งโซนดูแลการเก็บขยะ จำนวน 5 จุด
จุดที่ 1 ศูนย์ชุมชนบ้านท่ามิหรำ วัดท่ามิหรำ
จุดที่ 2 ถนนสายท่ามิหรำ-ศาลาพระ  สายที่ 1
จุดที่ 3 ถนนสายหมู่บ้านอินทรา    สายที่ 2
จุดที่ 4 ถนนสาย หมู่บ้านอินทรา    สายที่ 3
จุดที่ 5 ถนนสายหมู่บ้านอินทรา    สายที่ 4
จุดที่ 6 โรงครัววัดอินทราวาส

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ชุมชนสภาพแวดล้อมมีความสะอาด

  2. ราษฎรมีความรู้ในการเก็บขยะเพิ่มขึ้น

  3. มีที่เก็บขยะรีไซเกิล

  4. แหล่งก่อโรคในชุมชนลดลง โรคติดต่อในชุมชนลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2562 09:35 น.