กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อจัดทำสถานการณ์และพัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ได้ชุดข้อมูลสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค รวมถึงขนาดของปัญหาภัยสุขภาพในกลุ่มชาวเลผู้ประกอบอาชีพประมงและประชาชนกลุ่มเสี่ยง
0.00

 

2 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำชุมชน อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจคัดกรองผู้ป่วยหรือคนกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบเบื้องต้นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 6
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อจัดทำสถานการณ์และพัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน (2) 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเสริมสร้างความตระหนักรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงทางสุขภาพต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในพื้นที่ชุมชนเกาะบูโหลน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน อสม. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง การสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ อสม. และแกนนำชุมชน (3) อสม./แกนนำชุมชน ร่วมกับ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง และองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ดำเนินการ implement เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงฯโรคน้ำหนีบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh