กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนตำบลตันหยงโป
วันที่อนุมัติ 27 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2562 - 15 มิถุนายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 21 มิถุนายน 2562
งบประมาณ 13,425.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอดิสรณ์ กาซา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.589,99.936place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนในตำบลตันหยงโป ในการดูแลจัดการขยะและสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง

 

0.00
2 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้วิธีพัฒนาทักษะส่วนบุคคลที่เสริมสร้างชุมชนสุขภาพดีและเข็มแข็ง

 

0.00
3 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้วิธีจัดการขยะของตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตำบลตันหยงโป

 

0.00
4 4. เพื่อเป็นการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่รู้จักการคัดแยกขยะ เพื่อลดแหล่งที่จะก่อให้เกิดโรคและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในตำบล

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. สำรวจสถานการณ์ปัญหา ปริมาณ ชนิดและการคัดแยกขยะแต่ละประเภทในชุมชนในช่วงเริ่มต้น  เพื่อวิเคราะห์และวางแผนการทำงาน เพื่อเปรียบเทียบในชุมชนสะท้อนปัญหาการจัดการขยะที่มีผลต่อสุขภาพเพื่อเสนอโครงการขออนุมัติ
  2. ฝึกทักษะและปฏิบัติการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมอย่างครบวงจร โดยกิจกรรมอบรมเสริมความรู้และปฏิบัติการจัดการขยะโดยการใช้ประโยชน์จากขยะ
  3. ร่วมรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและชุมชนให้เอื้อต่อการเสริมสร้างสุขภาพ เช่น ลดการใช้โฟม ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสสติก
  4. จัดตั้งกลุ่มกิจกรรมการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมชุมชนลดผลกระทบต่อสุขภาพในชุมชน
  5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประเมินสรุปผลกิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กและเยาวชนมีความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมของชุมชนตนเองอย่างมีส่วนร่วมกันโดยสามารถสร้างรายได้และสุขภาพที่ดี
  2. เด็กและเยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและชุมชน กระตุ้นสร้างสุขภาพที่ดีแก่ตนเอง
  3. เด็กและเยาวชนสามารถสร้างเครือข่ายการจัดการขยะให้เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนภายในตำบล
  4. เด็กและเยาวชนในพื้นที่รู้จักการคัดแยกขยะ และลดแหล่งที่จะก่อให้เกิดโรคที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในตำบล
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2562 10:24 น.