กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเคาะประตูใจ ใส่ใจโรคมะเร็ง
รหัสโครงการ 60-5221-1-006
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,120.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกรรจนา เนียมละออง
พี่เลี้ยงโครงการ นายจำรัส หวังมณีย์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.842,100.342place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 เม.ย. 2560 26 เม.ย. 2560 27,120.00
รวมงบประมาณ 27,120.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 210 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ อุบัติเหตุและโรคหัวใจ สำหรับมะเร็งในสตรีไทยพบมะเร็งที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สุด คือ มะเร็งปากมดลูก ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อลดอัตราป่วย ที่จะส่งผลกระทบต่อประชากรในพื้นที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2 1.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 70 ปี มีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมได้ตนเองได้
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  3. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม พร้อมสอนทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  4. อสม. ติดตามกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  5. ดำเนินการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear
  6. นำส่งสิ่งส่งตรวจ ไปยังห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจลักษณะผิดปกติ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการ Pap smear สะสมในปีงบประมาณ 2560 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
  2. สตรีอายุ 30 - 70 ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 90
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2560 15:09 น.