กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลใกล้บ้านใกล้ใจ ใส่ใจสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงติดบ้าน
รหัสโครงการ 62-50117-01-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลนาโยง
วันที่อนุมัติ 13 มิถุนายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 39,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.566,99.699place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 24 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียงไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการนอนนาน

ผู้ป่วยติดเตียงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากแผลกดทับร้อยละ 80

24.00
2 เพื่อให้ผู้ดูแล ญาติ อสม.มีความรู้สามารถดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้อย่างเหมาะสม

ผู้ป่วยติดเตียงมีผู้ดูแลและไม่ถูกทอดทิ้งร้อยละ 100

24.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 39,300.00 0 0.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 โครงการดูแลใกล้บ้านใกล้ใจ ใส่ใจสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงติดบ้าน อบต.นาโยงเหนือ 0 39,300.00 -

3.1เขียนโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาโยงเหนือ 3.2ให้ความรู้แก่ญาติ/ผู้ดูแลด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง/ผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านตามบริบิของผู้ป่วยในชุมชน 3.3ประสานงานทีมสุขภาพทุกระดับ 3.4ค้นหา จัดทำทะเบียนข้อมูลผู้ป่วยติดเตียง/ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลต่าง ๆ 3.5วางแผนการพยาบาลโดยทีมหมอครอบครัว 3.6จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นเช่นเบาะลม เตียงปรับระดับ รถเข็นนั่งเพื่อหมุนเวียนให้ผู้ป่วยติดเตียงยืมใช้ 3.7ติดตามเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่อง 3.8ประสานงานกับแพทย์เพื่อออกใบรับรองความพิการที่บ้าน 3.9สรุป/วิเคราะห์ประเมินผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1ผู้ป่วยติดเตียงที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจสามารถยืมอุปกรณ์ที่จำเป็นใช้เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 7.2ผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียงได้รับการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2562 11:23 น.