กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสาร เพื่อโภชนาการสมวัยโรงเรียนบ้านสม็อง
รหัสโครงการ 63-L5203-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านสม็อง
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 34,060.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธีศิษฏ์ คงจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด หลีขาหรี
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.676,100.663place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 139 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนที่รับประทานผักอย่างน้อยวันละ 400 กรัม
50.00
2 สัดส่วนวัตถุดิบที่ซื้อมาโดยไม่ทราบแหล่งผลิตต่อผลผลิตที่ได้จากแปลงเกษตรของโรงเรียน
100.00
3 ร้อยละของนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าเนื่องจากผู้ปกครองมีอาชีพกรีดยางไม่มีเวลาทำอาหารให้ลูกรับประทานในตอนเช้า

จากการสำรวจข้อมูลการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียนโรงเรียนบ้านสม็อง พบว่า นักเรียน จำนวน 70 คน จากทั้งหมด 139 คน คิดเป็นร้อยละ 50.36 ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 28.78 ที่รับประทานอาหารเช้าที่ไม่ได้คุณภาพตามหลักโภชนาการ

50.00
4 ร้อยละของนักเรียนที่มีทีภาวะทุพโภชนาการ

จากการคัดกรองสุขภาพนักเรียนโดยการวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 พบว่า มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 19 คน จากนักเรียนทั้งหมด 139 คน คิดเป็นร้อยละ 13.87

13.87

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนของนักเรียนที่รับประทานผักอย่างน้อยวันละ 400 กรัม

จำนวนของนักเรียนที่รับประทานผักอย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้น

50.00 80.00
2 เพื่อลดสัดส่วนวัตถุดิบที่ซื้อมาโดยไม่ทราบแหล่งผลิตต่อผลผลิตที่ได้จากแปลงเกษตรของโรงเรียน

สัดส่วนวัตถุดิบที่ซื้อมาโดยไม่ทราบแหล่งผลิตต่อผลผลิตที่ได้จากแปลงเกษตรของโรงเรียนลดลง

100.00 80.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้า

ร้อยละนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าเพิ่มขึ้น

50.00 80.00
4 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีทีภาวะทุพโภชนาการ

ร้อยละของนักเรียนที่มีทีภาวะทุพโภชนาการลดลง

7.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 34,060.00 0 0.00
??/??/???? ประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ 0 1,150.00 -
??/??/???? ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ 0 6,000.00 -
??/??/???? การปลูกผักปลอดสารพิษ 0 4,910.00 -
??/??/???? แผงผักปลอดสาร แบ่งปันอาหารปลอดภัย สู่ชุมชน 0 900.00 -
??/??/???? จัดตั้งกองทุนผักปลอดสารบ้านสม็อง 0 700.00 -
??/??/???? ปุ๋ยหมักชีวภาพ 0 8,400.00 -
??/??/???? อาหารเช้าปลอดภัยในโรงเรียน 0 12,000.00 -
??/??/???? ติดตามประเมินผล 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. เกิดฐานการเรียนรู้และแปลงผักพื้นบ้าน ผักอายุสั้น ผักประเภทเถาวัลย์และเห็ดนางฟ้า
  3. นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีประกอบอาหารที่ปลอดภัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2562 09:57 น.