กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ
รหัสโครงการ 60-5221-1-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,915.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกรรจนา เนียมละออง
พี่เลี้ยงโครงการ นายจำรัส หวังมณีย์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.842,100.342place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 พ.ค. 2560 16 พ.ค. 2560 8,700.00
2 15 มิ.ย. 2560 21 ก.ย. 2560 19,215.00
รวมงบประมาณ 27,915.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชากรไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเพาะปลูก จะเห็นได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช โดยไม่ได้คำนึงถึงอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางโดยการสัมผัสทางผิวหนังจากการไม่สวมถุงมือและไม่สวมรองเท้าป้องกันขณะทำงาน การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งในอากาศ การรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพเกษตรกร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ

ร้อยละของเกษตรกรที่เข้ารับการอบรม

2 2.เพื่อลดการเจ็บป่วยและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ร้อยละของผู้ที่เข้ารับารตรวจสารเคมีในเลือด

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ 2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3.ดำเนินงานคลินิกเกษตรกรปลอดโรคในหน่วยงาน 4.ประเมินความเสี่ยงเกษตรกร 5.จ่ายยาสมุนไพรรางจืดให้กับผู้ที่มีผลเลือดอยู่ในภาวะเสี่ยงและนัดเจาะเลือดซ้ำ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ร้อยละ 80 2.เกษตรกรและผู้บริโภคท่่เข้าร่วมได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด ร้อยละ 90 3.เกษตรกรและผู้บริโภคที่มีผลการตรวจสารเคมีกำจัดศัตรูืชในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยง และเสี่ยงสูง ได้รับการรักษาโดยการใช้สมุนไพรรางจืด ร้อยละ 90 4.ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบปลูกผักกินเองในครัวเรือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2560 14:07 น.