กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเร่งรัดการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2562
รหัสโครงการ 62-L5303-5-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ
วันที่อนุมัติ 26 มิถุนายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 49,955.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอสม. บ้านปาเต๊ะ โดยนายยงยุทธ เนาวราช
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.687,99.965place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3355 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค และการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค และการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่เหมาะสม

0.00
2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค และการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค และการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 3355 49,955.00 7 49,955.00
1 มิ.ย. 62 - 31 ส.ค. 62 รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และการจัด สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในระดับครัวเรือนและชุมชน 0 0.00 0.00
1 มิ.ย. 62 - 31 ส.ค. 62 ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3,355 49,955.00 49,955.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 ทีม อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำครอบครัว และจิตอาสา ร่วมกันออกเร่งรัดควบคุมโรค ไข้เลือดออก และประเมินผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย จากแบบฟอร์มสำรวจลูกน้ำยุงลายในบ้าน เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อหาภาวะเสี่ยง/ปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก และสรุปผลเพื่อการวิเครา 0 0.00 0.00
7 มิ.ย. 62 คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และวางแผนจัดทำโครงการ และจัดทำแผนงาน โครงการ เพื่อขออนุมัติสนับสนุนงบประมาณ 0 0.00 0.00
25 มิ.ย. 62 ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่บุคลากรด้านสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข ตัวแทนระดับครัวเรือน 0 0.00 0.00
25 - 30 มิ.ย. 62 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ในงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 0 0.00 0.00
26 - 30 ก.ย. 62 ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต. รวมถึงวางแผนการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 0 0.00 0.00

วิธีดำเนินการ 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และวางแผนจัดทำโครงการ และจัดทำแผนงาน โครงการ เพื่อขออนุมัติสนับสนุนงบประมาณ 2. ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่บุคลากรด้านสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข ตัวแทนระดับครัวเรือน
3. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ในงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และการจัด สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในระดับครัวเรือนและชุมชน 5. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ได้แก่
- รณรงค์แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อฟื้นฟูความรู้ สร้างความเข้าใจ สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตามวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีในชุมชน โรงเรียน และมัสยิด และใช้หลัก 5ป 1ข เช่น การคว่ำและทำลายภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว, เลี้ยงปลากินลูกน้ำ ใส่ทรายทีมีฟอสในภาชนะกักเก็บน้ำ
- จัดทีมควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เพื่อพ่นยาควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายในบ้านผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค โดยใช้สูตร 1-3-7 คือ วันที่ 1 วันที่ 3 และวันที่ 7 เมื่อพบรายงานผู้ป่วย และควบคุมในระยะ 100 เมตรจากบ้านผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ - จัดสัปดาห์เฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โรงเรียนและมัสยิด 6. ทีม อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำครอบครัว และจิตอาสา ร่วมกันออกเร่งรัดควบคุมโรค ไข้เลือดออก และประเมินผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย จากแบบฟอร์มสำรวจลูกน้ำยุงลายในบ้าน เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อหาภาวะเสี่ยง/ปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก และสรุปผลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต. รวมถึงวางแผนการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ชุมชนได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค และการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนของตนเองเพิ่มมากขึ้น
  3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนคงที่หรือลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.ค. 2562 12:55 น.