กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2560
รหัสโครงการ 60-L1475-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านมาบบอน
วันที่อนุมัติ 14 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,880.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านมาบบอน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.532,99.71place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 74 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่นโรคธาลัสซีเมีย เบาหวาน ความดันดลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวะการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็กในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้หญิงมีครรภ์ต้องได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ90

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ร้อยละ 90 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการขึ้นทะเบียนในฐานข้อมูล

 

2 ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์

 

3 ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์

 

4 ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยง (18 ข้อ และ 5 โรค

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.อบรม อสม.เชี่ยวชาญด้านอนามัยแม่และเด็กในการค้นหากลุ่มเป้าหมายมารับบริการฝากครรภ์ 2.สถานบริการให้บริการฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ 3.ติดตามดูแลหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลเป็นรายบุคคล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ร้อยละ 100 2.น้ำหนักเด็กแรกคลอดมากกว่า 3000 กรัม ร้อยละ 85 3.เด็กพัฒนาการสมวัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2560 09:20 น.