กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์กลุ่มเยาวชน ประจำปี 2560
รหัสโครงการ 60-L1475-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านมาบบอน
วันที่อนุมัติ 14 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 30 เมษายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 29,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านมาบบอน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.532,99.71place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ แต่วัยรุ่นจำนวนมากยังเข้าไม่ถึงข้อมูลและบริการด้านเพศทำให้วัยรุ่นขาดความรู้และทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างต่อเนื่องขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดอย่างถูกวิธี ไม่สามารถควบคุมอารมณ์หรือตนเองเมื่ออยู่กับเพศตรงข้าม ถูกกระตุ้นอารมณ์เพศจากสื่อทางลบ และใช้สารเสพติด รวมทั้งการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสริมต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นที่สถานการณ์และแนวโน้มขณะนี้น่าเป็นห่วง อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นลดลงจาก 18-19 เป็นประมาณ 15-16 ปี แม้ว่าจะมีการใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ปี 2553 มีประมาณร้อยละ 50 ของวันรุ่นที่มีการใช้ถุงยางอนามัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษา

 

2 เพื่อให้กลุ่มเยาวชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

 

3 เพื่อให้กลุ่มเยาวชนทราบถึงผลกระทบจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ 2.จัดเตรียมทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย 3.อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องเพศศึกษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และผลกระทบจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 4.ประเมินความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา 2.ร้อยละ 80 กลุ่มเยาวชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3.ร้อยละ 80 กลุ่มเยาวชนทราบถึงผลกระทบจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและมีความตระหนักในการปฏิบัติตน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2560 09:48 น.