กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ
รหัสโครงการ 62-L4123-3-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคีรีลาด
วันที่อนุมัติ 7 สิงหาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนัศริน กือจิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2561 30 ก.ย. 2562 5,350.00
รวมงบประมาณ 5,350.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 19 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 19 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย ไข้ซิกา โรคชิคุนกุนยา และโรคติดต่อที่นำโดยยุง เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญที่มีการระบาดรุนแรงและมีแนวโน้มสูงขึ้นนอกจากนี้ยังพบว่ายุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะมีตลอดทั้งปี ฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งหาแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะในเด็กเล็ก โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคีรีลาด สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชันจึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการ การป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ เพื่อเป็นผู้ปกครอง รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง เฝ้าระวังความเสี่ยง เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันการระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะ

 

0.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย ไข้ซิกา โรคชิคุนกุนยา และโรคติดต่อที่นำโดยยุง และรู้วิธีป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคที่มียุงเป็นพาหะ

 

0.00
3 เพื่อให้มีการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง

 

0.00
4 เพื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตระหนัก ให้ความสำคัญและเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
??/??/???? กิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ 0 5,350.00 -
รวม 0 5,350.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.การระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะมีอัตราที่ลดลง 2.ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย ไข้ซิกา โรคชิคุนกุนยา และโรคติดต่อที่นำโดยยุง และรู้วิธีป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคที่มียุงเป็นพาหะ 3.มีการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง 4.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตระหนัก ให้ความสำคัญและเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ส.ค. 2562 00:00 น.