กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
รหัสโครงการ 600105
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลมะนัง
วันที่อนุมัติ 6 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2560
งบประมาณ 26,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลมะนัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่กระบวนการสูงอายุทางประชากรอย่างเต็มรูปแบบ มีการเพิ่มของประชากรสูงอายุอย่างรวดเร็ว โดยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มาตั้งแต่ปี 2548 (ผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด) ทำให้สังคมไทยมีเวลาจำกัดในการเตรียมพร้อมรับสังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ ประชากรผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มที่สังคมต้องให้การดูแล เนื่องจากการที่ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นย่อมมีผลให้อัตราการเจ็บป่วยด้วยภาวะเรื้อรังต่างๆ เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลมะนัง ตำบลปาล์มพัฒนา หมู่ที่ 1 มี 95 คน หมู่ที่ 3 56 คนและหมู่ที่ 10 มี 80 คน รวมทั้งสิ้น 231 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 13 มิถุนายน 59) จากประชากรทั้งหมด 2,921 คน คิดเป็นจำนวนผู้สูงอายุเท่ากับร้อยละ 7.9 ของประชากรทั้งหมด ภาวะหกล้มเป็นเหตุให้ผู้สูงอายุบาดเจ็บหรือเสียชีวิตได้โดยเฉพาะกระดูกหักหรือเลือดออกในศรีษะ การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อและกระดูก ทำให้ผู้สูงอายุสูญเสียความสามารถในการเดิน และความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน (Activities of Daily : ADL) ด้วยตนเอง งดเว้นกิจกรรมต่างๆ แยกตัวจากผู้อื่นและเกิดโรคซึมเศร้าได้ ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงอื่นๆ เช่น โรคปอดอักเสบติดเชื้อ (pneumonia) แผลกดทับ (bedsore) ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน (delirium) เป็นต้น ผลกระทบระยะยาวคือความกลัวที่จะหกล้มช้ำ จึงเสียความมั่นใจที่จะเดินตามลำพัง ผลรวมคือสุขภาพถดถอยลงทำให้หกล้มซ้ำซ้อนง่ายขึ้น เมื่อผู้สูงอายุหกล้มและกระดูกหัก พบว่า 1 ใน 5 ไม่สามารถกลับมาเดินได้อีกและบางส่วนต้องใช้รถเข็นไปตลอด เป็นภาระแก่ผู้ดูแลและครอบครัวในที่สุด (ภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ : คู่มือองค์ความรู้เรื่องโรคในผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2557) ในการนี้ เพื่อเป็นการเตรียมการรองรับสภาพปัญหาการหกล้มในผู้สูง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2560 16:03 น.