กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ 62-L5191-2-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมแพทย์แผนไทย รพ.สต.ตาแปด
วันที่อนุมัติ 22 สิงหาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 35,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพรรณี ดวงมะลิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.826,101.009place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ก.ย. 2562 30 ก.ย. 2562 35,000.00
รวมงบประมาณ 35,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการประเมินและการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาของชุมชน พบว่ามีปัญหาการใช้สารเคมีและยาปราบศัตรูพืชในชุมชน ร้อยละ 39.10 มีการประกอบอาชีพทำการเกษตร ร้อยละ 72 ปลูกผักกินเองและขายเป็นงานเสริมรายได้ โดยยังมีการใช้สารเคมีต่างๆในขั้นตอนการผลิต ซึ่งจาการสำรวจพบว่า สารเคมีที่ใช้ในการเกษตรในชุมชนสามารถจำแนกได้เป็น 3 ประเภทตามผลการออกฤทธิ์ของสารเคมี คือกลุ่มที่ 1ใช้ ป้องกันหนอน คือ บาเจาะเกาะ โคราดานโคลีดอน มาโครีดอน กลุ่มที่ 2 ใช้ป้องกันโรค ราและใบไหม้ คือ โคราเท เบต้ามัยซิน แบรดิตไซค์ กลุ่มที่ 3 ใช้ยาฆ่าหญ้า คือ กรัมม๊อกโซนอก ซึ่งเกษตรกรใช้สารเคมีและยาปราบศัตรูพืชร้อยละ60% สารเคมีที่ใช้ยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น คูน้ำในหมู่บ้านและในสวนแปลงเกษตรเน่าเสีย สัตว์ปีก ได้แก่ เป็ด นกกระยางขาวลดลง จากข้อมูลของ รพสต.ตาแปด พบว่าปี2562 มีผู้ป่วยเป็นโรคผื่นแพ้คันและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังอักเสบจำนวน 358 ราย และ โรคมะเร็งจำนวน 5 ผลตรวจสารเคมีในเลือด ผลตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง จำนวน 95 คนในเดือน พ.ค.2561พบว่า พบกลุ่มเสี่ยงสูงจำนวน 15คน คิดเป็น 15.78% หากมีการดำเนินโครงการนี้ครัวเรือนร้อยละ 80 เห็นด้วย มีการใช้มูลสัตว์ทำปุ๋ยสามารถดึงแหล่งประโยชน์มาใช้ได้ง่าย และยังมีปราชญ์ชาวบ้าน ที่สามารถมาช่วยสนับสนุนให้เกิดความสำเร็จได้ ดังนั้น ชมรมแพทย์แผนไทย จึงได้จัดทำโครงการนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ปลูกพืชสมุนไพร เพื่อใช้พื้นที่ว่างรอบๆบ้านและในชุมชนให้เป็นประโยขน์ และเกิดแปลงสาธิตพืชสมุนไพรในชุมชน เพื่อให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็ง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชุมชนมีพืชสมุนไพรปลอดสารพิษกินเอง

ชุมชนมีพืชสมุนไพรปลอดสารพิษกินเอง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 - 30 ก.ย. 62 เตรียมสถานที่ 0 35,000.00 -
รวม 0 35,000.00 0 0.00
  1. ระยะเตรียมการ

- จัดทำโครงการเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ระยะดำเนินการ - จัดเตรียมพื้นที่ - ชื้อวัสดุ อุปกรณ์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. รพ.สต. มีพืชสมุนไพรปลอดสารพิษ
  2. สามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับชุมชนอื่นได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ส.ค. 2562 12:33 น.